วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สื่อและวิธีการสอนภาษาไทย

แหล่งเรียนรู้ข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สื่อและวิธีสอนออนไลน์ ภาระงานวันที่ 25-26 ธ.ค.2553
โดย นางสาวศิรินทร์ทิพย์ ถานะกอง

ลำดับที่ ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.kanoksri.com/PowerPoint%20Web/index.htm
สื่อการเรียนรู้ CAI ภาษาไทย คำในมาตราตัวสะกด คำควบกล้ำ อักษรนำ

2.http://www.kbyala.ac.th/web-thai/media-tep.htm
เอกสารแนะนำการผลิตสื่อวิชาภาษาไทย อาทิเช่น หมีน้อยวรรคตอน, นาฬิกาคู่สัมผัสบิงโก..ราชาศัพท์, ตลกลำดับเรื่อง,O-X คำเป็นคำตาย ฯลฯ

3.http://www.school.net.th/library/createweb/10000/language/10000-11919.html
วิธีสอนแบบอินเทอร์เน็ตภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย

4.www.sahavicha.com/
เพลง แม่ ก. กา สื่อภาษาไทย เพลง เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เด็ก ๆ ชอบ และช่วยให้เด็กจำเนื้อหาที่เรียนได้ดี

5.www.sema.go.th/view/latest/thai
สื่อภาษาไทยล่าสุด. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา • การพัฒนาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

6.www.sema.go.th/view/thai
สื่อภาษาไทยยอดนิยม. สำนวน สุภาษิต หลักการอ่าน การเขียนรายงาน • กาพย์ •การพัฒนาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย .

7.http://www.kroobannok.com/34626
สื่อภาษาไทย โดยใช้เทคนิค 5E

8.http://www.vcharkarn.com/vteacher/4
เทคนิคการสอนภาษาไทย โดย อนงค์ เชื้อนนท์

9.http://www.dekgeng.com/thai/korkai.html
e-learning วิชาภาไทย แบบฝึกเขียน ก. ไก่

10.http://30wutani3.multiply.com/journal/item/4
เทคนิคการสอนภาษาไทยที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่อง นิทานธรรมะ น่ารู้

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.kalyanamitra.org
รวมนิทานชาดก หรือนิทานธรรมะ นิทานภาษาอังกฤษ คลิปนิทาน การ์ตูนสุภาษิต

2.http://www.dhammathai.org/dhammastory/index.php
นิทานชาดก นิทานธรรมะบันเทิง

3. http://audio.palungjit.com/f23/
นิทานธรรม จาก พระอาจารย์อาจารย์สมรัก ญาณธีโร

4.http://www.fungdham.com/fable-local.html
นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก นิยาย คลิปวิดีโอ ฝึกสติ

5.http://www.mindcyber.com/content/?action=cat&catid=6
นิทาน เรื่องสั้น เรื่องของคุณธรรม คติสอนใจ ที่บรรพชนได้ทำไว้เป็นแบบอย่างเล่าขานสืบต่อมา

6.http://www.buddhadasa.com/index_tale.html
นิทานธรรมะ นิทานเซ็น นิทานเรื่องสั้น

7. http://entertain.tidtam.com/data/12/0207-1.html
นิทานธรรมะ 184 เรื่อง

8.http://www.whitemedia.org/wma/content/category/3/3/15/
นิทานธรรมะสอนใจ มากมาย ทั้งนิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก นิทานภาษาอังกฤษ

9.http://www.phrasomrak.com/index.php?option=com_content&view=article&id
นิทานธรรมะจาก พระอาจารย์สมรัก ญาณธีโร

10.http://www.tamdee.net/main/thread.php?fid-20.html
รวมนิทานธรรมะหรรษา

11.http://www.dhammathai.org/chadoknt/chadoknt.php
นิทานบันเทิงธรรม นิทานชาดก ในรูปแบบออดิโอซีดี

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.karn.tv/tale.html Karn TV Education media for kids
บรรจุเรื่องสาระน่ารู้ เพลง นิทาน ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เหมาะสำหรับเด็กอนุบาล และประถมต้น

2.http://student.sut.ac.th/anurukclub/show_question.php?qs_qno=933E-Book
ส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา (ดาว์นโหลดฟรี)หนังสือส่งเสริมการอ่านประเภท E-Book วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบด้วย 10 ชุด มีเนื้อเรื่องชวนอ่านสนุกสนานตั้งแต่ระดับง่ายๆ จนขั้นสูง

3.http://www.thaigoodview.com/node/41746
เป็นเว็บเกี่ยวกับการอ่านภาษาอังกฤษ การอ่านจับใจความ ประโยค เรื่องสั้น การฝึกใช้ภาษาอังกฤษ

4.http://www.zone-it.com/forum/index.php?action=login Zone-it
เป็นWeb ของการอ่านการ์ตูนภาษาอังกฤษ

5.http://www.thaigoodview.com/node/532 เว็บ thaigoodview
เป็นแหล่งรวามของคลังข้อสอบภาษาอังกฤษ และรายวิชาอื่นด้วย ให้ครุและนักเรียนได้ศึกษาและฝึกทำ

6.http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/view.php?id=512889
หนังสือ สื่อ VDO Software Textbook ต่างๆ หรือ จะเป็น Audio ภาษาอังกฤษ โหลดกัน ฟรีรวมไปถึงยังมีหนังสือ ดีๆ พวกนิทานภาษาอังกฤษ หรือวนิยายภาษาอังกฤษ ไว้ไปอ่านกัน

7.http://www.chulaonline.com/
เรียนฟรี Online วันละบทChulaOnline.com จัดโครงการเรียน ภาษาอังกฤษพื้นฐานระดับปริญญาตรีฟรี โดยจะสับเปลี่ยนบทเรียนนำเสนออย่างต่อเนื่องทุกวัน

8.http://newpoon.wordpress.com/
มีสื่อการสอน เรื่องเล่า เรื่องสั้นภาษาอังกฤษ

9.http://www.vmodtech.com/webboard/index.php?topic=11411.msg133415;topicseeCD/VCD/DVD
สื่อการสอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย - ประถมศึกษา จากผู้ผลิตสื่อการ สอนสำหรับเด็กชั้นนำระดับโลก เช่น BBC, Cambridge, Oxford

10.http://www.eldc.go.th/eldc3/page/webboard/view_topic.jsp?topic_id=572
ศสษ. ศุนย์พัฒนาความสามารถสำหรับเด็ก สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองฟรี แหล่งข้อมูล สื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ดาวน์โหลดฟรี มีวีดีโอ MP3 ซอฟท์แวร์ หนัง soundtrack พร้อม subtitle

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง การวัดผลและประเมินผล

ลิงค์ รายละเอียด

1.www.watpon.com/Elearning/mea1.htm
1. ความหมายของการวัดผล
2. ประเมินผล
3. ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินผลแบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์

2.http://reg.ksu.ac.th/teacher/yahvaret/lession1.html
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล

3.http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=91157
การวัดผลและการประเมินผลทางการศึกษา

4.http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/joemsiit-web1/Bloom_/Bloom3.htm
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลด้านพุทธิสัย

5.http://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/9999softmeas/unit6/index.html
1.สถิติที่ใช้การแปลความหมายของคะแนน
2.การสร้างธนาคารข้อสอบและแบบทดสอบ มาตรฐาน
3.สถิติที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา

6.http://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/UNIT1/unit1/unit14.html
1.ประเภทของการประเมินผล
2.ธรรมชาติของการวัดผลการศึกษา

7.http://www.watpon.com/testtheory/
1.ประโยชน์ของการวัดผลการศึกษา
2.สถิติพื้นฐานทางการวัดและการ ทดสอบ

8.http://reg.ksu.ac.th/teacher/yahvaret/lession2.html
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล

9.http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=3141
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

10.http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538682703&Ntype=3
บทความการวัดและประเมินผล

แหล่งข้อข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สื่อการเรียนการสอนคริตศาสตร์

Link รายละเอียด

1http://www.pyo1.net/krunoy/
สื่อการสอนคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การคูณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสลับที่ของการคูณ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คณิตศาสตร์ เรื่องการคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก

2.http://kruthaicp1.ning.com/video/5425428:Video:20932
สื่อการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 1

3.http://esanhost.com/web_sakon/
วิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เงิน

4.https://sites.google.com/site/friendnukoon/sux-kar-sxn-khnitsastr
สื่อการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกทศนิยม การลบทศนิยม

5.http://www.ripn-math.com
ศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6

6.http://www.krupongsak.net/
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ตัวอย่างแบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบวัดความรู้วิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

7.http://sites.google.com/site/mathdmsu/home/sux-kar-sxn-khnitsastr
เว็บไซต์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม)

8.http://learners.in.th/blog/moteranu
เอกสารประกอบการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3

9.http://www.sahavicha.com/?name=media
สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ แบบทดสอบออนไลน์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2

10.http://www.kruwut.net/unit3.pdf
บทความเกี่ยวกับการสร้างสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แหล่งข้อมูลออนไลน์คณิตศาสตร์

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.school.net.th/library/snet2/
เว็ปไซต์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ทุกแขนง ตั้งแต่ความเป็นมาของคณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ของโลก การประยุกต์คณิตศาสตร์ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เกม สรุปสูตร ฯลฯ

2.http://www.kanid.com/
เว็ปไซต์ที่ทำให้คุณอยากเรียนคณิตศาสตร์ รวมสื่อการสอนคณิตศาสตร์ สื่อมัลติมิเดีย สื่อประยุกต์โครงงาน เกมคณิต วัดไอคิว ฯลฯ

3.http://www.ipst.ac.th/smath/web_math/web_math1.Html
เว็ปไซต์คณิตศาสตร์มัธยมศึกษาของ สสวท. มีทั้งแผนการสอน สื่อการสอน หลักสูตรคณิตศาสตร์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ

4.http://www.thai-mathpaper.net/
ศูนย์รวมข้อสอบคณิตศาสตร์ หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ออนไลน์ แบบทดสอบคณิตยอดนิยม ฯลฯ

5.http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&category=4
เว็ปไซต์ของสหวิชาดอทคอมฝ่ายคณิตศาสตร์ รวบรวมบทความ ความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

6.http://www.math.pinionteam.net/
รวมโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ บทความ โปรแกรมคณิตศาสตร์ ลับสมอง ปัญหาเชาว์ ฯลฯ

7.http://www.math.or.th/
เว็ปไซต์สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ประกาศสอบคณิตศาสตร์ อบรมครูคณิตศาสตร์ ค่ายคณิต ฯลฯ

8.http://www.ripn-math.com/
ศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์

9.http://www3.ipst.ac.th/primary_math/ict_material/mini_lo.asp
เว็ปไซต์คณิตศาสตร์ประถมศึกษาของ สสวท. มีทั้งแผนการสอน สื่อการสอน หลักสูตรคณิตศาสตร์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ

10.http://www.mc41.com/
เว็ปไซต์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจ รวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ทั้งครูและนักเรียนสามารถศึกษาได้

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ

ที่ ลิงค์/แหล่งข้อมูล รายละเอียด
1.http://kawshevit.blogspot.com/2008/01/blog-post_14.html
- รวมบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
ภาคเหนือ ประวัติและวิธีการทำโคมลอย

2.http://www.prachatai.com/column-archives/node/2693
- รวมบทความเกี่ยวกับเครื่องมือหาปลาพื้นบ้านภาคเหนือ เช่น มองปลาบึก แซะ สะเบ็ง ไซหัวหมู นาม กวัก
จ๋ำ (สะดุ้ง) หิง (สวิง)

3.http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/others/wilaiporn/__58.html
- รวมบทความเกี่ยวกับเครื่องจักสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคเหนือ

4.http://www.nidtep.go.th/quality/index.php?name=news
- แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษาล้านนา หรือคำเมือง ประวัติศาสตร์ล้านนา อักษรล้านนา ประวัติความเป็นมา ของธงสากล หรือ ตุง ของชาวล้านนา

5.http://library.cmu.ac.th/ntic/lannafood/
- อาหารพื้นบ้านล้านนา เช่น แกง - น้ำพริก - ตำ/ยำ - ขนม อาหารว่าง

6. http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=3638.0
- ของเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ

7.http://www.prapayneethai.com/th/amusement/north/
- การละเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ

8.http://www.prapayneethai.com/th/tradition/north/
- แหล่งรวบรวมข้อมูลด้านประเพณี วัฒนธรรม พิธีกรรม ความเชื่อ

9.http://www.thaigoodview.com/node/48381
- การแสดง พื้นเมือง ภาคเหนือ

10.http://www.tourthai.com/directory/?c=99
- แหล่งรวบรวมสินค้า O – TOP ของภาคเหนือ

11.http://www.openbase.in.th/taxonomy/term/1188?page=47
- ภูมิปัญญาด้านการจัดการ เรื่อง น้ำบ่อ ฮ่องหล่อ ผัดตาศีล การแต่งงานแบบพื้นเมือง

12.http://iam.hunsa.com/laongdao/article/26236
- สุภาษิตล้านนา

13.http://thrai.sci.ku.ac.th/node/1898
- สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา

14.http://www.sri.cmu.ac.th/~maeyinglanna/main10/main.php
- การแต่งกายของแม่ญิงล้านนา

แหล่งข้อมูลออนไลน์เกี่ยวกับกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ และ ดาราศาสตร์

ลำดับที่ ลิ้งค์ / แหล่งข้อมูล รายละเอียด
1.http://www.darasart.com/
•รวมเรื่องราวของดาราศาสตร์สำหรับคนไทย คุณจะได้พบกับ ข่าวสาร,บทความ , ความรู้ ประวัติเรื่องราวเกี่ยวกับ ดาว ความเป็นไปในเอกภพ ...
•ฝนดาวตกเจมินิต
•หอดูดาวสิรินธร ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีทั้งข้อมูลของหอดูดาว และห้องสนทนาเว็ปบอร์ด. Darasart Kid เว็บไซด์แนะนำความรู้ด้านดาราศาสตร์สำหรับเด็กๆ …
•กำเนิดของดวงอาทิตย์

2.http://thaiastro.nectec.or.th/
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บริษัท โกรวิ่งพอยท์ โอเอ แอนด์ เน็ทเวิร์ค จำกัด. สมาคมดาราศาสตร์ไทย .พบกับความรู้ เรื่องราว ข่าวสาร เกี่ยวกับ
•ระวังข่าวลือเรื่องดาวอังคาร
•หมวดโลกแตก 2012
•ปรากฏการณ์ท้องฟ้า
•แพน-สตาร์สค้นพบดาวเคราะห์น้อยอันตราย

3.http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/astronomy.shtml
•พบกับเรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ การดูดาวกับกูเกิล บทความ งานวิจัย ทางวิทยาศาสตร์
•รวมข้อสอบ สอวน วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
•พบกับเรื่องราวดาราศาสตร์มหัศจรรย์ กลับสู่หน้าแรกของโฮมเพจฟิสิกส์ราชมงคล. ครั้ง ที่. เซ็นสมุดเยี่ยม. ดาราศาสตร์มหัศจรรย์.

4.http://www.doodaw.com/
•รวบรวม บทความ ข่าวสาร และสิ่งที่น่าสนใจ ในศาสตร์ความลี้ลับของดวงดาว จักรวาล เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์.
•รายชื่อเวปวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
•โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์

5.http://www.rmutphysics.com/charud/astronomy/index.htm
•ดาราศาสตร์ในประเทศไทย • หอดูดาวแห่งแรกของประเทศไทย • พระบิดาแห่งดาราศาสตร์ไทย • เวลามาตรฐานของไทย • ปฏิทินอันแรกของโลก • แผนที่ดาวเก่าแก่ที่สุด ...
•เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ หลุมดำ

6.http://sunflowercosmos.org/astronomy/astronomy_main/astronomy_main.html
•การรวมตัว กลุ่มฝุ่นหมอกควันของก๊าซ ที่แพร่กระจาย คือมวลสสาร (Matter) หากมีความ หนาแน่นและขนาดใหญ่เพียงพอ.
•ดาราศาสตร์ดึกดำบรรพ์ ถือกำเนิดขึ้น ด้วยความแตกต่าง ความเชื่อของศาสนาและวัฒนธรรม.
•พลังงานจักรวาล กาแลกซี่

7.http://www.lesa.in.th/
http://www.kruku.net/archives/category
•โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ โลก อวกาศ
•ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA) จะจัดกิจกรรมฝนดาวตก GEMINIDS 2010 ณ หอดูดาวเกิดแก้ว อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี .
•โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ กล้องโทรทรรศน์(Telescope)

8.http://www.space.mict.go.th/astronomer.php
http://etcommission.go.th/Space/astronomer.php?name=copernicus
•นักดาราศาสตร์เอกของโลก

9.http://student.sut.ac.th/astronomyclub/
http://www.airandspaceclub.com/forum/index.php?action=printpage;topic=624.0 •ชุมนุมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ เว็บดาราศาสตร์เพื่อคนไทย ...
•โปรแกรมดูดาว
•ธารน้ำแข็งบนดาวอังคาร

10.http://www.absorn.ac.th/webmul.htm
•เว็บมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ. โดย:นายทองคำ วิ รัตน์ โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ สพท.กทม.เขต 3. Online:www.absorn.ac.th ...

11.http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/darasart.html
•เรื่องราวของดาราศาสตร์ – วิกิพีเดีย
•ความหลากหลายเชิงกายภาพของดวงจันทร์ ความหลากหลายเชิงกายภาพของดาวเคราะห์ คริสต์ศาสนากับวิชาดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ในศตวรรษหน้า ...
•ดาราศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาวิทยาศาสตร์ทั้งหลายมันเป็นการ ศึกษาดาวเคราะห์ ในเชิงวิทยาศาสตร์ ...
•ดาวเทียมสำรวจ

12.http://guru.google.co.th/guru/label?lid=63f4c5fcc2f05533
•เรื่องราวของความเชื่อ ดวงดาวกับราศี

13.http://www.science.cmu.ac.th/observatory/obv_bkup/Olympic.htm
•เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์โอลิมปิก
•ค่ายโอลิมปิกดาราศาสตร์ระดับ ม.ต้น ม.ปลาย
•โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
•ทางช้างเผือก

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่องเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.bbl4kid.org/
รวมบทความ กิจกรรม สื่อสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย

2.http://www.plawan.com/game/index.php
เป็นแหล่งเกมส์สนุกๆสำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดแทรกความรู้ไว้เต็มเปี่ยม

3.http;//www childthai.org/
เป็นข่าวการเคลื่อนไหวจากสถานที่ต่างๆและยังมีโปรแกรมวาดภาพพร้อมสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับลูก

4.http://www.bkkchildrenmuseum.com/
เป็น เว็บที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของเด็กในแต่ละด้าน

5.http://www.tataya.com/
เป็นเว็ปที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็ก มีเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับเด็กที่น่าสนใจ มีบทความต่างๆ เกี่ยวกับเด็ก

6.http://www.Thaiparents.com
เป็นเว็ปที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ในการดูแลบุตร อายุตั้งแต่ แรกเกิด ถึง 12 ปี มีการถามตอบปัญหาที่เกิดกับเด็ก อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเลี้ยงดูบุตร

7.http://www.dekdek.com/entertaint.htm
ประกอบ ด้วยห้องนิทาน ห้องเกมส์ ห้องสาระน่ารู้กับหนูดำ บทความเด็กและครอบครัว ถ้าเพื่อนๆสนใจที่จะนำไปเป็นศึกษาก็สามารถทำได้เพราะมีประโยชน์มากสำหรับ เด็กปฐมวัย

8.http://www.tumbletots.co.th/tumbletots.asp
ประกอบไปด้วยโปรแกรมของทัมเบิ้ลทอทส์ 3 ช่วงอายุ ประโยชน์ของแต่ละโปรแกรมที่เหมาะสมกับช่วงอายุเด็ก

9.http://www.anamai.moph.go.th/env/cbb/nitan/ffan/ffan.htm
เป็นเว็บเกี่ยวกับนิทานของกองทัตสาธารณสุขกรมอานามัย เพื่อนๆ สนใจเข้ามาชมและนำไปสอนเด็ก ๆ ที่โรงเรียน

10.http://www.curistory.com/us/card/music.asp?code=m
เพลงเด็กน่ารักๆ  กลอนเพราะๆ

11.http://www.dofordek.com/script/fangnitan/fangnitan.php
นิทานสำหับเด็ก

12.http://www.enchantedlearning.com/Rhymes.html
หัดระบายสีหน้าจอ

13.http://www.greettv.dusit.ac.th/page/11/
รวมหลากหลายเรื่องราว นานา สาระ เกี่ยวกับปฐมวัย เช่น สื่อการเรียนรู้ kid variety

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สื่อวิทยาศาสตร์

ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.caistudio.info/
เป็นหน้าเวปสื่อประกอบการเรียนการสอน CAI ทุกกลุ่มสาระสามารถดาวโหลดมาใช้สอนในชั้นเรียนได้

2.http://www.stkc.go.th/cd_download/
เป็นเวปสื่อที่เป็น CD เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ สามารถดาวโหลดมาใช้สอนในชั้นเรียนได้ทุกระดับชั้น

3.http://www.edu.cmu.ac.th/~science/InstrMedia.html
เป็นเวปสื่อการสอนประเภทกิจกรรมการทดลองทุกระดับชั้นของสวท

4.http://www.youtube.com/view_play_list?p=575B58727CBC7CD6
เป็นเวปสื่อการสอนที่เป็นวีดีโอสามารถเปิดให้นักเรียนศึกษาหรือดูเพื่อความเพลิดเพลินและให้คติสอนใจ

5.http://www.kruaung.com/index.php
เป็นข้อสอบระรับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาชุดการสอนบทเรียนสำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

6.http://www.goosiam.com/games/viewallgame.asp
เกมส์สื่อวิทยาศาสตร์

7.http://gotoknow.org/blog/wilaiaun/
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กระดาษอัฉริยะ

8.http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/index.htm
แผ่นใสวิชาฟิสิกส์

9.http://teacherkobwit2010.wordpress.com/
การสอนวิทย์แบบ Inquiryวิทยาศาสตร์ ม.1โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.ปลาย

10.http://kunkrupreeda.exteen.com/
การเปลี่ยนแปลงของโลก

11.http://learners.in.th/blog/tasana/260088
สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย

วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

แหล่งเรียนรู้ข้อมูลออนไลน์ เรื่อง ภาพการ์ตูน

ลิงค์ รายละเอียด
1. http://dookdik.kapook.com/
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนน่ารัก

2. http://atcloud.com/stories/40617
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับอาหาร

3. http://sakid.com/2007/10/12/7084/
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับดอกไม้ธรรมชาติ

4. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kungguenter& month=21-052009&group=32&gblog=12
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับตัวอักษร

5. http://atcloud.com/discussions/45779
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับสัตว์น่ารักๆ

6. http://www.coverdd.com/animation/
เป็นแหล่งรวมห้องภาพ

7. http://www.jengsud.com/emo/
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนที่แสดงอารมณ์

8. http://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=851.0
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนวันเกิด

9. http://flash-mini.com/hi5code/emotion_hi5msn.php
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนสัญลักษณ์ MSN

10. http://ecard.kapook.com/category.php?category_id=47
เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนภาพเคลื่อนไหว

แหล่งข้อข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สถาบันกวดวิชานักเรียน

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.tutor-2bee.com/
โรงเรียนสอนศิลปะ หน้าเว็บมีตารางเรียน ที่อยู่ของติวเตอร์

2.http://www.dek-d.com/
เด็กดี มีเว็บบอร์ด เกี่ยวการศึกษา ดูดวง มุมนิยาย

3.http://www.peetewnong.com/home/
พี่ติวน้อง หน้าเว็บมีหน้าข่าวสาร แนะนำการสมัครเรียน หลักสูตรและบริการ

4.http://www.iqpluscenter.com/
ติวเตอร์ผู้นำด้านการสอนพิเศษ มีหน้าต่างรายละเอียด บทความน่ารู้ แนะนำการเรียนพิเศษ อัตราค่าเรียน การสมัครเรียน

5.http://www.sonnong.com/
เว็บสอนน้อง การเรียนตัวต่อตัวผ่านอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่ระดับ ป.1 – มหาวิทยาลัย

6.http://www.chulatutorathome.com/
จุฬาติวเตอร์ เว็บเกี่ยวกับเรียนพิเศษ ตั้งแต่อนุบาลถึงระดับมหาวิทยาลัย มีแนวการสอน วิชาที่รับสอน อัตราค่าเรียนพิเศษ

7.http://www.koe-physics.com/
เคมีเซ็นเตอร์ หน้าเว็บจะมีการอัพเดทข่าวสารการศึกษา วิธีการสมัครเรียนพิเศษ รับสอนตั้งแต่ประถมศึกษาถึงมหาวิทยาลัย

8.http://www.thetutor.in.th/portal/home/
เดอะติวเตอร์ มีแนะนำระเบียบการ ข้อมูลข่าวสาร อาจารย์ที่สอน สาขาที่เปิด

9. http://www.thebrain.co.th/ เดอะเบรน หน้าเว็บมีระเบียบการ แนะนำการเรียน มีติวก่อนสอบ
10. http://www.appliedphysics.ac.th/
แอพพลายด์ฟิสิกส์ กิจกรรมสถานบัน ข่าวประชาสัมพันธ์ ตารางเรียน สาขาที่เปิด มีวิธีการสมัครเรียน

11. http://www.chem-ou.com/
เคมี อ.อุ๊ นำแนะเว็บ มีวีธีการสมัครเรียน ข่าวประกาศรับสมัครเรียน

12. http://www.davance.com/
ดา วองค์ หน้าเว็บมีหลักสูตรการเรียน ตารางเรียน แนะนำการเรียน

แหล่งข้อมูลออนไลน์ เรื่อง กีฬา..คือยาวิเศษ

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www3.sat.or.th/organization/allow.asp
ข้อมูลองค์กรกีฬา การขออนุญาตจัดตั้งสมาคม กำหนดการประชุม การจัดการแข่งขันและการจัดการส่งนักกีฬา ประกาศชนิดกีฬา การจัดสรรเงินอุดหนุน งบประมาณการเตรียมและส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน ผังโครงสร้างองค์กรกีฬา

2.http://www.fat.or.th/web/national.php
ประวัติสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย สภากรรมการบริหารสมคม ปฏิทินกิจกรรมของสมาคม ปฎิทินการแข่งขันฟุตบอลของสมาคมข้อมูลนักฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุต่างๆ

3.http://www.kat.or.th/public/aboutus.html
สโมสรกาบัดดี้แห่งประเทศไทย ประวัติความเป็นมา ข่าวสารประชาสัมพันธ์และกิจกรรม กติกาการเล่น ทำเนียบ ประมวลภาพ

4.http://www.thaicycling.or.th/?cid=348259
ประวัติสโมสรจักรยานแห่งประเทศไทย ปฏิทินการแข่งขัน การขออนุญาตจัดการแข่งขัน กฎกติกาการแข่งขัน สาระน่ารู้เกี่ยวกับสมาคม

5.http://www.takraw.or.th/th/
คณะกรรมการบริหารสมาคมตะกร้อ ประวัติสมาคมตะกร้อ กฎกติกาการแข่งขัน ประวัติกีฬาตะกร้อ เทปการแข่งขัน

6.http://www.thaitva.or.th/html/association/association.html
ทำเนียบผู้ฝึกสอน กฎกติกาการแข่งขัน ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล สถาบันการสอนกีฬาวอลเลย์บอล ประวัติสมาคม คณะกรรมการบริหาร สโมสรสมาชิก นักกีฬาทีมชาติไทย กรรมการผู้ตัดสิน

7.http://www.aat.or.th/
ข่าวสารสมาคมกรีฑา ผลการแข่งขัน กติกาการแข่งขัน สถิติการแข่งขัน รายชื่อผู้ฝึกสอน

8.http://www.taekwondothai.com/history.php
ประวัติความเป็นมาของกีฬาเทควันโด ประวัติความเป็นมาของสมาคมเทควันโด ข่าวสารสมาคม โปรแกรมการแข่งขัน ผู้บริหาร ข้อมูลนักกีฬา ผลการแข่งขัน ภาพการแข่งขัน

9.http://www.tasa.in.th/pro/history.php
ประวัติสมาคมว่ายน้ำ ปฏิทินข่าว กีฬาว่ายน้ำ กีฬาโปโลน้ำ กีฬากระโดดน้ำ ระบำใต้น้ำ ผู้ตัดสิน สมัครสมาชิก รายชื่อสมาชิก

แหล่งข้อข้อมูลออนไลน์ เรื่อง การสร้างหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ (e – Book)

ลำดับ Link รายละเอียด
1.http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_ebook/171/7.pdf
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ e-Book

2.http://www.thaigoodview.com/node/186
ความเป็นมาเกี่ยวกับ e-Book

3.http://www.lms.cmru.ac.th/how_to_read.htm
การใช้งาน e-Book

4.http://www.horhook.com/wbi/dta/index.html
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้าง e-Book ด้วย DeskTop Author

5.http://www.oknation.net/blog/freeday888/2009/09/08/entry-1
การสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม FlipAlbum

6.http://bu.lpc.rmutl.ac.th/naravit/e-book/
คู่มือเบื้องต้นการใช้งาน DeskTop Author

7.http://learn.wattano.ac.th/learn/ln2/courses/5/E-book.htm
การออกแบบ e-Book ด้วย Desktop Author

8.http://www.horhook.com/content/index.htm
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดีย

9.http://61.91.205.171/flip_e_book/flip_publisher1.htm
การสร้าง  E-book ด้วยโปรแกรม Flip Publisher

10.http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/frontend/theme_1/index.php
แนะนำหนังสือ e-Book ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แหล่งข้อข้อมูลออนไลน์ เรื่อง สุขภาพกายและสุขภาพจิต

เว็บที่เกี่ยวกับสุขภาพกายและสุขภาพจิต

ลิงค์ รายละเอียด
1. http://www.moac.go.th/builder/moac_health/wl_main.php
เคล็ดลับสุขภาพ วิธีการดูแลผิวพรรณต่างๆ เส้นผม เครื่องสำอางต่างๆ กินอย่างไรให้สุขภาพดี

2.http://www.clinicrak.com/
โฮมเพจคลินิกรัก ดอท คอม เป็นโฮมเพจอิสระ ไม่สังกัดโทรทัศน์ช่องใด หรือหนังสือเล่มใด จัดทำขึ้นเพื่อให้ท่านได้ศึกษา หาความรู้ จากบทความต่างๆ หรือจะปรับทุกข์ ถามปัญหา โดย post ข้อความตามห้องต่างๆ ด้วยหวังว่าสถาบันครอบครัวของเราจะแข็งแกร่งขึ้นมาบ้าง

3.http://www.thaioptometry.net/
สาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry) เป็นหลักสูตรปริญญาสำหรับผู้ประกอบโรคศิลปะให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการ ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 จัดเป็นหลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวของประเทศไทยที่เน้นการตรวจและวินิจฉัย ปัญหาทางด้านสายตาและสุขภาพตาอย่างครบถ้วน

4.http://www.thainhf.org/index.php
มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ เป็นเว็บที่ให้ความรู้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิต ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสุขภาพต่างๆ

5.http://www.doctordek.com/index.php
เป็นเว็บไชค์มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ให้ความช่วยเหลือ มีการบริจาคเงินสนับสนุนกิจกรรมการผ่าตัดโรคหัวใจเด็กให้กับมูลนิธิ เป็นภาพกิจกรรมการออกหน่วย ตารางการออกหน่วยของมูลนิธิ

6.http://www.siamhealth.net/
เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่นโรคหวัด โรคมะเร็ง อาหารสำหรับคนป่วยของโรคต่างๆ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง การกินกาแฟต่างๆ เป็นต้น

7.http://www.thaiclinic.com/
เป็นการตอบปัญหาด้านสุขภาพของคณะแพทย์ศาสตร์ที่ตอบปัญหาของผู้ป่วยที่ป่วยในด้าน อายุรกรรม สูตินรีเวชกรรมและกุมารเวชกรรม หู ตา คอ จมูก และทันตกรรม

8.http://elib.fda.moph.go.th/library/
บริการสืบค้นรายการหนังสือ,วารสาร, CD-Rom และบทความผ่านระบบอินเทอร์เน็ต กฎหมายเกี่ยวกับอาหารและยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2552 อ.ย เตือนภัยในด้านต่างๆ

9.http://dopah.anamai.moph.go.th/
เว็บไซต์เพื่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพกับการออกกำลังกาย เทคนิคการออกกำลังกาย งานวิจัยที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ทำให้สุขภาพดี

10. http://www.thaicraniofacial.com/
รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ หรือชื่อเดิม ศูนย์แก้ไขความพิการบนใบหน้า และกะโหลกศีรษะฯ เป็นศูนย์กลางการรักษาความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะที่ใหญ่ที่สุดในเอ เซียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยไม่แสวงหาผลกำไร และรักษาผู้ป่วยโดยไม่เลือกชนชั้น วรรณะ เชื้อชาติ ซึ่งเป็นไปตามหลักการสากลของสภากาชาด

11. http://www.orthochula.com/
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทางด้านกระดูกและข้อ ของ รศ.นพ.อารี ตนาวลี ของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.http://www.siamhealthy.net/
สุขภาพ, อาหารเพื่อสุขภาพ, สมุนไพร, แพทย์ทางเลือก, นวด, อโรมาเธอราปีส์

13.http://www.yourhealthyguide.com/
รวบรวมสาระน่ารู้ น่าสนใจ และเว็บไซต์เกี่ยวกับสุขภาพ อาทิเช่น ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ

14.http://www.siamgreenfarm.com/
จัดจำหน่าย ผักปลอดสารพิษ คุณค่าทางโภชนาการสูง ด้วยระบบการปลูกแบบ ผักไฮโดรโปรนิกส์ ทั้งปลีกและส่ง หรือ รับปลูกตามออร์เดอร์ ไม่ใช้สารเคมีฆ่าแมลง ใดๆ จึงปลอดภัยต่อการบริโภค เราปลูกผักไทยเช่น ผักคะน้า (Chinese Kale) ผักบุ้ง (Morning Glory) ผักกวางตุ้ง

แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ตที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย

แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ตที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย

ลำดับ ลิงค์ รายละเอียด
1. http://history.startth.com/ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย กษัตริย์ของไทย กำเนิดชาติไทย ความหมายของ ประวัติชาติไทย ประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์
2. http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/history/hist1.htm เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย ซึ่งมีการแบ่งออกเป็นอาณาจักรต่างๆ เช่น อาณาจักรน่านเจ้า แคว้นโยนกเชียงแสน อาณาจักรเพงาย เป็นต้น
3. http://www.bandhit.com/History/History.html เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ที่กล่าวถึงการทำสงครามของกษัตริย์และนักรบผู้ยอมเสียสละชีวิตในก่อน เช่น สงครามช้างเผือก สงครามยุทธหัตถี ศึกบางระจัน
4. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=polball&month=18-12-2009&group=17&gblog=12 เกี่ยวกับความเป็นมาของประวัติศาสตร์ไทย และชนชาติไทย
5. http://www.baanjomyut.com/library/thai_history.html เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย และบุคคลสำคัญของชาติไทยตั้งแต่สมัยอดีตถึงปัจจุบัน
6. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no17/main/pravattisad.html ข้อคำถามและคำตอบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย
7. http://www.kwc.ac.th/1Part1.htm เกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย
8. http://www.photikhun.org/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=6&Id=539118421 ข้อมูลและหลักฐานประวัติศาสตร์ไทยในรูปแบบของวิดีโอคลิป
9. http://www.m-culture.go.th/detail_page.php?sub_id=522 เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยในส่วนของถิ่นฐานเดิมและแหล่งกำเนิดชนชาติไทย
10. http://www.kroobannok.com/1698 เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา และกรุงธนบุรี
11. http://www.iseehistory.com/thai การนำประวัติศาสตร์ชาติไทยมาจัดทำเป็นภาพยนตร์ เช่น ตำนานสมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช
12. http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/kung-ten-buri.htm เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงธนบุรี ยุคสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

พืชผักสมุนไพร

พืชผักสมุนไพร

ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.samunpri.com/modules.php?name=Vegetable ผักสมุนไพร นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านอาหารแล้ว ยังมีคุณค่าทางกระตุ้นพลังเสริมสร้างสุขภาพ และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ปัจจุบันชีวิตคนกรุงเทพ ต้องประสบกับมลพิษหลายอย่าง เช่น อาหารเป็นพิษ และสภาวะแวดล้อมเป็นพิษ ในช่วงฤดูฝนนี้ ควรที่จะรับประทานอาหารให้พลังแข็งแรง เพื่อต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ
2.http://www.samunpri.com/modules.php?name=News&file=article&sid=55 ประโยชน์ใกล้ตัว พืชผักสวนครัวใกล้บ้าน

ที่จริงแล้วผักสวนครัวทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น โหระพา ขิง ข่า ตะไคร้ หรือใบสระแหน่ ก็ล้วนแต่มีประโยชน์ทั้งนั้น โดยเฉพาะสรรพคุณทางยาของความเป็นสมุนไพรไทยที่ใครได้ยินแล้วจะต้องบอกว่า สุดยอด เสมอ ว่าแล้ววันนี้ก็เลยอยากให้คุณๆ ได้รู้จักกับประโยชน์ของพืชผักสวนครัวเหล่านี้กัน
สมัยเด็กมักจะโดนคุณแม่ใช้ให้ไปเก็บพืชผักสวนครัวหลังบ้านบ่อยๆ บ้านหลังเล็กๆ ของเรามีพื้นที่เหลือเฟือสำหรับปลูกผักสวนครัวไว้ปรุงอาหารกินเอง แต่หลังจากย้ายตัวเองมาฝังตัวอยู่ที่เมืองหลวง ก็ได้มีพืชผักสวนครัวส่วนตัวไว้กินอีกเลย

3.http://www.doae.go.th/library/html/detail/menuveg.htm ปลูกพืชสมุนไพรกันแมลง ให้ปลูกที่ขอบแปลงก่อน เช่น กุ๋ยฉ่าย คื่นฉ่าย และระหว่างแปลงก็ทำการปลูกกระเพรา โหระพา พริกต่างๆ เพื่อป้องกันแมลงก่อนที่จะทำการปลูกพืชผัก พอครบกำหนด 7 วัน พรวนดินอีกครั้งแล้วนำเมล็ดพันธุ์พืชมาหว่านแต่เมล็ดพันธุ์พืชส่วนใหญ่เป็นเมล็ดพันธุ์ที่คลุกสารเคมีจึงต้องนำเอาเมล็ดพันธุ์ผักมาล้าง โดยการนำน้ำที่มีความร้อน (50-55 C ) วัดได้ด้วยความรู้สึกของตัวเราเองคือเอานิ้วมือจุ่มลงไปถ้าทนความร้อนได้ก็ให้นำเมล็ดพันธุ์พืชแช่ลงไป นาน 30 นาที แล้วจึงนำขึ้นมาคลุกกับกากสะเดา หรือ สะเดาผงแล้วนำไปหว่านลงแปลงที่เตรียมไว้คลุมฟางและรดน้ำ

4.http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/veg_herb.html พันธุขิง
พันธุขิงพอจําแนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
1. ขิงใหญหรือขิงหยวก
2. ขิงเล็กหรือขิงเผ็ด

5. http://www.homedd.com/HomeddWeb/servlet/homedd.A_garden.frontweb.FwVegetMain
ชะพลู Cha-plu ผักพื้นบ้านไทย ที่รูปใบเป็นทรงหัวใจ เส้นใบแยกจากโคนใบเห็นเส้นใบชัดเจน ใบสีเขียวเข้ม รสชาติเผ็ดเล็กน้อย เป็นไม้เลื้อยปลูกง่าย ชอบที่ชื้นแฉะ เนื่องจากชะพลูมีสารออกซาเลต(oxalate) ที่หากทานมากๆจะสะสมเป็นนิ่วในไตได้ แต่ถ้าทานใบชะพลูร่วมกับโปรตีน เช่นเนื้อหมู ไก่ แล้วก็ไม่เป็นปัญหา


ลิงค์ รายละเอียด
6. http://www.wiparatfood.com/ โหระพา (ผักสมุนไพร) เป็นพืชที่มีกลิ่นหอม ช่วยปรุงแต่งกลิ่นรสของอาหารให้น่ารับประทานยิ่งขึ้น ใบและยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด และช่วยดับกลิ่นคาวของอาหาร เช่น แกงเลียง แกงเผ็ด ผัดต่างๆ เช่น ผัดหอย น้ำมันโหระพาใช้แต่งกลิ่นซอสมะเขือเทศ ขนมผิง ลูกอม ผักดอง ไส้กรอก และ เครื่องดื่มต่างๆ

7.http://www.tungsong.com/samunpai/Garden/index.html ผักสวนครัวรั้วกินได้ การปลูกพืชผักสมุนไพร สำหรับใช้ในครัวเรือน นอกจากจะปลูกในสวน ในแปลง ในกระถาง หรือในภาชนะปลูกอื่น ๆ แล้ว พืชผักสมุนไพรหลายชนิดเราสามารถนำมาปลูกเป็นรั้วบ้านได้ ซึ่งนอกจากจะทำหน้าที่เป็นรั้ว คือ เครื่องล้อมกั้นเป็นเขตของบ้านที่มีความสวยงามดูแปลกตา แตกต่างไปจากรั้วบ้านชนิดอื่น ๆ แล้ว รั้วสมุนไพรยังให้ใบ ให้หน่อ ให้ผล ให้ดอก ให้เรานำไปเป็นอาหารและยารักษาโรคได้อีกด้วย 
          
8.http://www.ezythaicooking.com/ingredients_1_th.html การทำอาหารไทยให้อร่อย ต้องเริ่มต้นด้วยความพิถีพิถันในการเลือกซื้อ เครื่องปรุงที่สดใหม่ จัดเก็บเพื่อรอนำไปประกอบอาหารด้วยวิธีที่ถูกต้อง วัตถุดิบในส่วนของพืชผัก และสมุนไพรที่ใช้ในการทำอาหารไทยมีหลายประเภท อาหารไทยเป็นที่นิยมของคนทั่วโลกว่าเป็นอาหารเพื่อสุขภาพเพราะสรรพคุณทางยาของผักและสมุนไพรที่ใช้ในการปรุงอาหารเหล่านี้นั่นเอง 
9. http://www.chs.ac.th/new/weerawan/plant.html ในปัจจุบันการปลูกพืชผักสมุนไพรนอกจากจะปลูกเป็นสวนเพื่อจำหน่ายแล้ว  ยังนิยมนำมาปลูกเป็นพืชผักสวนครัวอีกด้วย  เช่น กะเพรา โหระพา  อัญชัน  เดือย  บัวบก  ผักบุ้งไทย  พริกขี้หนู  มะเขือเทศ  มะนาว  ฟักทอง  มะกรูด  มะขาม  มะเขือพวง  แค  ชะพลู  ขิง  ข่า  ตะไคร้  ตำลึง  ถั่วแดง  ส้มเขียวหวาน  กล้วย  มะม่วง  ฝรั่ง  มังคุด  ขนุน  มะละกอ  ชมพู่ เป็นต้น

10. http://www.jabchai.com/main/view_joke.php?id=2165 ตำลึง--- สรรพคุณ เป็นยาดับพิษร้อนภายในร่างกาย ลดอาการไข้ เป็นยาระบายอ่อนๆ ผลดิบนำมาปรุงเป็นอาหารช่วยลดอาการเบาหวาน ใบสดๆ นำมาขยี้ให้ละเอียดเอาน้ำมาทาแก้อาการคัน ช่วยถอนพิษจากหนอนกัด และพิษจากหมามุ่ย ใช้หยอดตาแก้อาการตาแดง ตาเจ็บ

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เกี่ยวกับ เด็กปฐมวัย เช่น เพลง เกม นิทาน สาระน่ารู้

ลิงค์ รายละเอียด
http://www.childthai.org/childrensroom/index.htm ประกอบด้วยห้องน่ารู้ กิจกรรมแสนสนุก นิทานฝันดี ห้องสมุดภาพ เกมส์ดีๆ ลิงค์คุณหนู แนะนำหนังสือเด็ก แหล่งเรียนรู้ มีกิจกรรมมากมายให้เด็กๆได้ลองทำและฝึกปฏิบัติรวมไปถึงเกมส์ใหม่ๆสาระน่ารู้ ไม่เป็นอันตรายกับเด็กๆแต่เป็นการฝึกทักษะการเรียนรู้สำหรับเด็กๆมีเนื้อหา สาระและยังมีนิทาน
http://www.plawan.com/game/index.php
เป็นแหล่งเกมส์สนุกๆสำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดแทรกความรู้ไว้เต็มเปี่ยม
http;//www childthai.org/ เป็นข่าวการเคลื่อนไหวจากสถานที่ต่างๆและยังมีโปรแกรมวาดภาพพร้อมสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับลูก
http://www.bkkchildrenmuseum.com/
เป็น เว็บที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของเด็กในแต่ละด้าน
http://www.tataya.com/ เป็นเว็ปที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็ก มีเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับเด็กที่น่าสนใจ มีบทความต่างๆ เกี่ยวกับเด็ก
http://www.Thaiparents.com เป็นเว็ปที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ในการดูแลบุตร อายุตั้งแต่ แรกเกิด ถึง 12 ปี มีการถามตอบปัญหาที่เกิดกับเด็ก อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเลี้ยงดูบุตร
http://www.dekdek.com/entertaint.htm
ประกอบ ด้วยห้องนิทาน ห้องเกมส์ ห้องสาระน่ารู้กับหนูดำ บทความเด็กและครอบครัว ถ้าเพื่อนๆสนใจที่จะนำไปเป็นศึกษาก็สามารถทำได้เพราะมีประโยชน์มากสำหรับ เด็กปฐมวัย
http://www.tumbletots.co.th/tumbletots.asp ประกอบไปด้วยโปรแกรมของทัมเบิ้ลทอทส์ 3 ช่วงอายุ ประโยชน์ของแต่ละโปรแกรมที่เหมาะสมกับช่วงอายุเด็ก
http://www.anamai.moph.go.th/env/cbb/nitan/ffan/ffan.htm เป็นเว็บเกี่ยวกับนิทานของกองทัตสาธารณสุขกรมอานามัย เพื่อนๆ สนใจเข้ามาชมและนำไปสอนเด็ก ๆ ที่โรงเรียน
http://www.curistory.com/us/card/music.asp?code=m
เพลงเด็กน่ารักๆ  กลอนเพราะๆ
http://www.dofordek.com/script/fangnitan/fangnitan.php
นิทานสำหับเด็ก
http://www.enchantedlearning.com/Rhymes.html
หัดระบายสีหน้าจอ

โคมลอย

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนเครือข่าย Internet ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เรื่อง โคมลอย
Link รายละเอียด
1.http://www.moohin.com/trips/chiangrai/komloy/
โคมลอยของฝากจากเชียงราย
2.http://khomloypasang.uuuq.com/khomloy.html
ประวัติความเป็นมาของโคมลอย
3.http://www.igetweb.com/www/kwankaokhomloy/index.php?mo=3&art=391511
ความรู้เกี่ยวกับโคมลอย
4.http://www.thaibizcenter.com/knowledgecenter.asp?kid=2427
ที่มาโคมลอย ทำไมต้องลอยโคม
5.http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=379aa6998f5c3a2f
เทศกาลลอยกระทง โคมลอยทำไมต้องลอยโคม
6.http://www.qoolive.com/show_blog/1671/us/hongyoke/t/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2
วิธีการทำโคมลอย
7.http://www.khomloycm.com/manual.php
วิธีการเล่นโคมลอย
8.http://www.shopsinka.com/89/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2.html
โคมลอยขายตรง
9.http://www.khomloycm.com/
โคมลอยขายส่ง โดยตรงจากผู้ผลิต
10.http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=38753
ความเห็นเกี่ยวกับโคมลอยในกิจกรรมต่างๆ

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์จาก WWW. ที่จะเป็นประโยชน์
ในการเรียนวิชา CI6601เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน
เรื่อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
โดย..นางสาวนววรรณ เพชรี่ 538989010
ลำดับที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://www.bcoms.net/news/index.asp แหล่งรวมข่าวสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ ทดสอบความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แนะนำร้านซ่อมคอมพิวเตอร์

2 http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00009 ความรู้ทั่วไปและประเภทเกี่ยวกับฮาร์แวร์ และซอร์ฟแวร์

3 http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/page04_2.htm ความสำคัญสารสนเทศ วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการใช้คอมพิวเตอร์สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต

4 http://www.siit.tu.ac.th/thai/it.html การศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศ แนวโน้มการทำงาน และศึกษาต่อรวมทั้งความแตกต่างระหว่างสารสนเทศกับวิทยาการคอมพิวเตอร์
5 http://www.thaismeplus.com แหล่งบริการซื้อขายคอมพิวเตอร์หลากหลายแบบ หลายรุ่นและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
6 http://www.ez-admin.com/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=60&Itemid=455 ศูนย์อบรมระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์กครบวงจรมีหลักสูตรฝึกอบรมหลากหลาย อาทิ เช่น
• หลักสูตร Hacking & Security
• หลักสูตร Linux Server Administrator
• หลักสูตร Network Administrator

7 http://www.itexcite.com/ ร่วมกันเสนอความคิดเห็นในการสร้างสังคมไอที ข่าวเด่นประจำวัน “ตามรอยคอมพิวเตอร์ส่วนพระองค์เครื่องแรก”
8 http://www.thaiitstory.com/ บทความ การแลกเปลี่ยนข่าวสารวงการเทคโนโลยีสารสนเทศคอมพิวเตอร์
9 http://www.ict.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=41 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในรายวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
10 http://www.nectec.or.th/ ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สาระน่ารู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โครงการรับรองคุณภาพคอมพิวเตอร์ รวมทั้งสถาบันอบรมทางด้านคอมพิวเอตร์มากมาย

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
เกี่ยวกับชุดการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ลิงค์ รายละเอียด
http://www.thaigoodview.com/node/60523
รายงานการพัฒนาชุดการสอน เรื่องน้ำและอากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
http://www.vcharkarn.com/vcafe/163559
การศึกษาผลการพัฒนาชุดการเรียน การสอน เรื่อง พลังงานแสง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองขาม
http://www.thaigoodview.com/node/86112
การสร้างชุดการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของดวงอาทิตย์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
http://www.surinarea1.go.th/isresearch/science_group.html
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง ชีวิตพืชและสัตว์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2
http://www.kruthacheen.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538665694
การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่องบรรยากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=8769&bcat_id=16
รายงานผลการใช้ชุดการสอน เรื่อง ร่างกายของเรา อาหารและสารเสพติด เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
http://gotoknow.org/blog/ntscince
การใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่องวัตถุรอบตัว
http://www.vcharkarn.com/vcafe/163559
การศึกษาผลการพัฒนาชุดการเรียนการสอนเรื่องพลังงานแสงกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:5OPNMLWPJNgJ:www.scribd.com/doc/29270145 ชุดการสอน เรื่อง หัวใจและระบบหมุนเวียนเลือด
http://gotoknow.org/blog/taunjai/237751
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

http://www.krooit.com/webboard/index.php?topic=1253.0
การพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
ทฤษฎีการเรียนรู้

ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี

2 http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86 ฤษฎีการเรียนรู้
»ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐาน
»ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
»กลุ่มความรู้ (Cognitive)

3 http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=110814&Ntype=2 หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้

4 http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning.htm ทฤษฎีการเรียนรู้จาก การเก็บข้อมูล (Retention Theory)
5 http://www.kroobannok.com/1549 ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructivism
6 http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm แนวความคิดในเรื่องของการเรียนรู้ของมนุษย์ ได้รับความสนใจอย่างมากจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาแต่ในอดีต
7 http://puvadon.multiply.com/journal/item/5 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Learning Theory : Behaviorism)
8 http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=15154 การเรียนรู้ ( Learning )
9 http://www.tciap.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538781189 ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory)

10 http://www.inspect11.moe.go.th/index.php/component/content/article/54-2009-11-28-01-55-54/128-2010-02-23-07-40-15 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มีผลต่อ
แนวทางการออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินผล
11 http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm ทฤษฎีการเรียนรู้
12 http://www.tumcivil.com/engfanatic/board/gen.php?topic_id=13741&hit=1 2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการเรียนรู้

วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ปฏิบัติการ moodle

Moodle คืออะไร ?
Moodle ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environmentคือ ชุดของ Server-Side Script สำหรับสถาบันการศึกษา หรือครู เพื่อใช้เตรียมแหล่งข้อมูล กิจกรรมและเผยแพร่แบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต สามารถนำไปใช้ได้ทั้งองค์กรระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ ผู้พัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas โปรแกรมชุดนี้เป็น Open Source ภายใต้ข้อตกลงของ gnu.org (General Public License) สามารถ download ได้ฟรีจาก http://moodle.org/mod/resource/view.php?id=8 สำหรับผู้ดูแลระบบ(Admin) ที่จะนำโปรแกรมไปติดตั้ง ต้องมี Web Server ที่บริการ php และ mysql

ความสามารถของ moodle โดยสรุป
1. เป็น Open Source ที่ได้รับการยอมรับ (13544 sites from 158 countries 2549-07-19)
ตัวนี้ฟรี : สถาบันส่วนใหญ่ตัวใครตัวมัน ซื้อบ้าง พัฒนาเองบ้าง ไม่อยู่ในวิสัยทัศน์ก็มี ในอนาคตอาจหันมาใช้ตัวนี้กันหมดก็ได้
2. สามารถเป็นได้ทั้ง CMS(Course Management System) และ LMS(Learning Management
System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหาของผู้สอน พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา
และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน
3. สามารถ สร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารที่ทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page,PDF หรือ Image เป็นต้นใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย
4. มี ระบบติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้นนักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อนเข้าเรียน ก็ได้
5. มี ระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบให้คะแนนที่หลากหลายให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel
6. สำรองข้อมูลเป็น .zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืนลงไปในเครื่องใดก็ได้อย่างของผมทำวิชาระบบปฏิบัติการ แล้วเก็บเป็น .zip เปิดให้ Download ใครจะนำไปทดสอบกู้คืนในเครื่องตนเองก็ได้
7. ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ และใจกว้าง ส่งเสริมเรื่องนี้เพราะ อาจารย์ได้ทำหน้าที่ นักศึกษาได้
เรียนรู้ และสถาบันได้ชื่อเสียงอาจารย์เตรียมสอนเพียงครั้งเดียว แต่นักเรียนเข้ามาเรียนกี่รอบก็ได้ จบไปเข้าแล้วกลับมาอ่านทบทวนก็ได้

ข้อควรทราบเกี่ยวกับมูเดิ้ล
สิ่งที่ควรมี ก่อนใช้มูเดิ้ล (Requirement)
1. มี เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) เพื่อติดต่อกับโปรแกรมมูเดิ้ล จำเป็นทั้งต่อครู และนักเรียน
2. มี เว็บเซอร์ฟเวอร์ (Web Server) เพื่อบริการรับการเชื่อมต่อเข้าไป โดยรองรับภาษาพีเอชพี (php) และฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล (mysql)
3. มี ผู้ติดตั้ง (Installer) และ ผู้ดูแลระบบ (Admin) เพื่อทำให้ระบบเกิดขึ้น และให้บริการแก่ผู้ใช้
4. มี ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ที่ยอมรับเทคโนโลยี ดังนั้นมูเดิ้ลเหมาะสำหรับนักเรียนที่รับผิดชอบ ครูที่มุ่งมั่น และผู้บริหารที่ให้งบประมาณ
5. มี การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย (Network) เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)
จำนวนเว็บไซต์ที่ใช้มูเดิ้ล (ข้อมูลจาก http://moodle.org/sites/ )
+ 2552-09-30 : 39,180 + 6,347 sites (Thailand 659 sites + private 637 sites)
+ 2549-07-19 : 13,544 sites (Thailand 462 sites)
+ 2547-03-18 : 1,216 sites (Thailand 34 sites)

บทบาทของผู้เข้าใช้มูเดิ้ล (Who are them?)
1. ผู้ดูแล (Admin) มีหน้าที่ ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น กำหนดสิทธ์การเป็นครู แก้ไขปัญหาให้แก่ครู และนักเรียน
2. ครู (Teacher) มีหน้าที่ เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรม ตอบคำถาม และติดต่อสื่อสารกับนักเรียน
3. นักเรียน (Student) มีหน้าที่ เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน
4. ผู้เยี่ยมชม (Guest) สามารถเข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และถูกจำกัดสิทธ์ในการทำกิจกรรม
แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม (Resource and Activities)
1. ป้ายประกาศ (Label) คือ ระบบแสดงข้อความ เพื่อประกาศให้นักเรียนทราบข่าวสาร
2. กระดานเสวนา (Forum) คือ กระดานที่ครู และนักเรียนเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. การบ้าน (Assignment) คือ ระบบที่ครูกำหนดโจทย์ให้นักเรียนไปค้นคว้า แล้วนำแฟ้มงานมาอัพโหลด (upload) ส่งครู
4. ห้องสนทนา (Chat) คือ ระบบที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน แบบออนไลน์
5. แบบทดสอบ (Quiz) คือ ระบบวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยข้อสอบแบบปรนัย หรืออัตนัย
6. แหล่งข้อมูล (Resources) คือ แหล่งข้อมูลอื่น เช่น text, html, upload, weblink, webpage, program
7. โพลล์ (Poll) คือ ระบบที่เปิดให้สามารถถามความคิดเห็นจากนักเรียน
8. สารานุกรม (Wiki) คือ ระบบสร้างแหล่งอ้างอิงเชิงบูรณาการระหว่างครู และนักเรียน
9. อภิธานศัพท์ (Glossary) คือ รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้
10. ห้องปฏิบัติการ (Workshop) คือ ระบบที่ให้นักเรียนทำงาน แล้วส่งงาน ซึ่งประเมินผลได้หลายแบบ
11. สกอร์ม (SCORM) คือ แหล่งข้อมูลที่รวมเนื้อหา หรือแฟ้มข้อมูลจากภายนอก ถูกยอมรับเป็นมาตรฐานหนึ่งของ Learning Object

กิจกรรมของครู (Teacher Activities)
1. สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นครู หรือผู้สร้างคอร์ส
2. ครูสร้างคอร์ส และกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง
3. เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม
4. ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
5. สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้
6. สามารถกู้คืนข้อมูลที่เคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเครื่องอื่น
7. สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนที่ถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปประมวลผลใน Excel
8. กำหนดกลุ่มนักเรียน เพื่อสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก
9. ยกเลิกนักเรียนในรายวิชา ถ้าพบว่ามีความประพฤติไม่เหมาะสม หรือเข้าเรียนผิดรายวิชา
10. ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่านบทเรียน หรือคะแนนในการสอบ
11. เพิ่มรายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน
12. สร้างเนื้อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้สู่ระบบ

กิจกรรมของนักเรียน (Student Activities)
1. สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเองได้
2. รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที)
3. เรียนรู้จากเอกสาร หรือบทเรียน ที่ครูกำหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
4. ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือสนทนาระหว่างครูและนักเรียน
5. ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน
6. แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้
7. เรียนรู้ข้อมูลของครู เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม เพื่อสร้างความคุ้นเคยได้
2. ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ Moodle
1. การใช้ moodle ควรมีอะไรบ้าง (Requirement)
1. มี Web Browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ moodle ทั้งโดยอาจารย์ และนักศึกษา
2. มี Web Server ที่ให้บริการ php และ mysql
3. มี ผู้ติดตั้ง ผู้ดูแล และบำรุงรักษา ควรทำโดยนักคอมพิวเตอร์ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการ
เขียนเว็บ เพราะการติดตั้งไม่ง่ายเลย
4. มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ที่ยอมรับในเทคโนโลยี ดังนั้น moodle ไม่เหมาะกับเด็กอนุบาล
หรือครูที่ไม่มีไฟ
5. มี การเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)
2. จำนวนเว็บไซต์ที่ใช้ Moodle (How popular)ข้อมูลจาก http://moodle.org/sites/ไทย 881 sites (71 not shown here)
ผู้เกี่ยวข้องกับ Moodle (Who are them?)
ผู้ดูแล (Admin) : ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น และกำหนดสิทธ์การเป็นผู้สอน
ผู้สอน (Teacher) : เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบ
คำถาม และติดต่อสื่อสาร
ผู้เรียน (Student) : เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน
ผู้เยี่ยมชม (Guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และจำกัดสิทธ์ในการทำกิจกรรม

แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม (Resource and Activities)
0. SCORM (แหล่งข้อมูล ที่รวม Content จากภายนอก ที่เป็นมาตรฐาน)
1. Wiki (สารานุกรม ที่ยอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข)
2. อภิธานศัพท์ (Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้)
3. ห้องสนทนา (Chat : ห้องที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน)
4. กระดานเสวนา (Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น)
5. การบ้าน (Assignment : ที่นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา upload ส่งครู)
6. ห้องปฏิบัติการ (Workshop : ที่นักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ่งประเมินได้หลายแบบ)
7. ป้ายประกาศ (Label : แสดงข้อความ เพื่อประกาศให้ทราบ)
8. แบบทดสอบ (Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถอัตโนมัติ)
9. โพลล์ (Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก)
10. แหล่งข้อมูล (Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program)



ประโยชน์ moodle
1. เป็นโปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก
2. สามารถเป็นได้ทั้ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหา ของผู้สอน พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน
3. สามารถสร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารที่ทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย
4. มีระบบติดต่อสื่อสาร ระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อน เข้าเรียน ก็ได้
5. มีระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบ ให้คะแนนที่หลากหลาย ให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel
6. สำรองข้อมูลเป็น . zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืน ลงไปในเครื่องใดก็ได้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ Moodle

ศิรินทร์ทิพย์ ถานะกอง 538989008

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีพบศรีสุวรรณและสินสมุทร

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีพบศรีสุวรรณและสินสมุทร



วิเคราะห์โดย..
นางสาวศิรินทิพย์ ถานะกอง 538989008
นางสาวนววรรณ เพชรี่ 538989010

1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism)
สื่อมัลติมีเดียเรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีพบศรีสุวรรณและสินสมุทร มีความสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม โดยเลือกเอาทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ กฎการเรียนรู้
1.กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2.กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)การฝึกหัดหรือกระทำบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้
3.กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองความมั่งคงของการเรียนรู้จะเกิดขึ้น หากได้มีการนำไปใช้บ่อย ๆ หากไม่มีการนำไปใช้อาจมีการลืมเกิดขึ้นได้
4.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้

ครูสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจำผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2.การสำรวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องดำเนินการก่อนการเรียนเสมอ
3.หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
4.เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนำการเรียนรู้นั้นไปใช้
โดยกลุ่มพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่ดีไม่เลว (neutral-passive)การกระทำต่าง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสำคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตเห็นได้ สามารถวัดและทดสอบได้

2.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory)
จากการวิเคราะห์ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory)ที่สอดคล้องกับเรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีพบศรีสุวรรณและสินสมุทร ก็จะยึดทฤษฎีทฤษฏีการเรียนรู้ของ กลุ่ม เกสตัลท์ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดบุคคลจะเรียนรู้ส่วนรวมและไปหาส่วนย่อย สิ่งใกล้ตัวไปหาสิ่งไกลตัว สิ่งที่เป็นรูปธรรมไปหานามธรรม เพราะฉะนั้นการจัดการเรียนการสอน ถ้ายึดตามหลักทฤษฎีของเกสตัลท์ ในเรื่องพระอภัยมณี ควรปฎิบัติตามกระบวนการคิดดังนี้
1.กระบวน การคิดเป็นกระบวนการสำคัญในการเรียนรู้ การส่งเสริมกระบวนการคิดจึงเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยให้ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้
2.การสอนโดยการเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อยจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
3.การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มาก ได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาและคิดริ เริ่มได้มากขึ้น
4.การจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
5.การจัดระเบียบสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้ดีคือ การจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน
6.ในการสอนครูไม่จำเป็นต้องเสียเวลาเสนอการสอนทั้งหมดที่สมบูรณ์ครูสามารถเสนอ เนื้อหาแต่เพียงบางส่วนได้ หากผู้เรียนสามารถใช้ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์
7.การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกันจะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดี และรวดเร็ว
8.การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้มากขึ้น


3.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory)
หนังสือสื่ออิเลคทรอนิกส์มัลติมิเดีย เรื่องพระอภัยมณี เป็นการนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่ เคยได้ยินเป็นเรื่องเล่าขานสืบต่อกันมา ซึ่งสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น ซึ่งผู้สอนสามารถเชื่องโยงไปถึงสิ่งใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นได้ ลักษณะของสื่อจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน ช่วยให้เกิดการสัมพันธ์ความรู้ใหม่กับความรู้เดิม

4.สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ
สื่อมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสาน สื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic)ภาพเคลื่อนไหว (Animation)เสียง (Sound)และวีดิทัศน์ (Video)เป็นต้น และถ้าผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia)การปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้สามารถจะกระทำได้โดยผ่านทางคีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตัวชี้ (Pointer)เป็นต้น เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียน รู้หรือทำกิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่างๆ ด้วยตนเองได้ทำให้เกิดความหลากหลายในการใช้คอมพิวเตอร์อันเป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในแนวทางใหม่ที่ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

5.มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง:หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี ที่ผู้เรียนสามารถอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆได้ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้
โดยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดีย เรื่องพระอภัยมณี ประกอบด้วยตัวอักษร เสียงและภาพรวมกัน โครงสร้างหน้าของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย ภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียอาจเป็นภาพธรรมดาที่มีเอฟเฟค หรือภาพเคลื่อนไหวก็ได้ ในหนึ่งหน้าจอ จะประกอบไปด้วยหลายๆส่วน ได้แก่ ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพวิดีโอ กรอบโต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับคอมพิวเตอร์ในหน้านี่อาจใส่เสียงด้วย โดยอาจใส่ไว้ในรูปของปุ่มเพื่อให้ผู้เรียนเลือกใช้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น ครูสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,การเขียน,การฟังและการพูดได้

6.มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี มีความคล้ายคลึงกับ “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือ CAI ไม่ได้นำเสนอเป็นบทเรียน แต่นำเสนอเป็นตอนตามโครงเรื่องโดยการนำคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือสร้างให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้เรียนนำไปเรียนด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้ ซึ่งจะประกอบไปด้วย เนื้อหาวิชา เกม แบบฝึกหัดอ่านกลอน และลักษณะของการนำเสนอ มีทั้งตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนจึงส่งผลการเรียนรู้ของนักเรียนดังนี้
1.ทำให้ผู้เรียนเรียนได้ในอัตราความเร็วของตนเอง
2.ผู้เรียนจะเรียนที่ไหนเมื่อใดก็ได้
3.ผู้เรียนสามารถเรียนได้จากสื่อประสม (Multi media) จากระบบคอมพิวเตอร์
4.ผู้เรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมรวดเร็วกว่าสื่ออื่น ๆ

7.เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดียเรื่องพระอภัยมณี สามารถทำให้กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมมีการทำกิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ตระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน ในรูปแบบของเว็บไซต์มีอินเตอร์เน็ตการแผ่ขยายออกไปเรื่อย ๆ ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตเป็นสังคมขึ้นมา การสร้างชุมชนใหม่บนอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสำคัญในการติดต่อสื่อสาร สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งเพื่อการเรียนรู้ การศึกษาหาความรู้ต่างๆ และความบันเทิง เพราะทุกวันนี้มนุษย์สังคมเมืองส่วนใหญ่ จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน

วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กลุ่ม 7 เครือข่ายสังคม social network

เครือข่ายสังคม social network
Social Network คือ สังคมออนไลน์ที่จะช่วยให้คุณหาเพื่อนบนโลกอินเตอร์เน็ทได้ง่ายๆ เราสามารถที่จะสร้างพื้นที่ส่วนตัวขึ้นมา เพื่อแนะนำตัวเองได้ เช่น Hi5 Friendster MySpace FaceBook Twitter BeboTagged เว็บ SNS (Social Network Site) เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อการตอบสนองความต้องการในการ ติดต่อธุรกิจหรือหาเพื่อนบนโลกไซเบอร์ทั้งสิ้น

คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือเอนกประสงค์ที่นำไปประยุกต์ใช้ได้เกือบทุกเรื่อง และที่สำคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งก็คือเป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว เป็นเรื่องมือที่ให้เด็กนักเรียนได้ฝึกทักษะ กระตุ้นให้เกิดการคิดเพื่อแก้ปัญหา ผู้เรียนเลือกที่จะเรียนรู้ได้ตามความถนัด ความชอบ เพราะคนที่จะเรียนรู้ได้ดีในเรื่องที่ตนเองสนใจชอบที่จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือส่งเสริมในลักษณะนี้ได้ด้วยตนเอง จึงสอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการศึกษาที่เน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกคนจะต้องเรียนรู้ความเป็นไปในปัจจุบัน รู้จักแยกแยะ และเลือกที่จะเรียนรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองสำหรับผู้ที่มีพื้นความรู้ทางคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก เช่นกรณีของเด็กเล็กและผู้สูงอายุ ครูหรือผู้รู้ยังต้องแนะนำบ้างก่อนที่จะปล่อยให้เรียนรู้ด้วยตนเอง สิ่งที่ผู้ใช้ทุกคนควรมีพื้นความรู้นั้นก็คือการปิดเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้เมาซ์ควบคุมการใช้งาน การใช้คีย์บอร์ดเมื่อต้องพิมพ์ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลบางอย่าง เช่นผู้ใช้ควรจะได้ทราบว่า เมื่อตัวชี้ที่เลื่อนด้วยเม้าซ์นั้นเมื่อชี้ไปที่จุดใดแล้วคลิกขวาแล้ว จะมีตัวบอกว่าที่จุดนั้นทำอะไรได้บ้าง และเลือกรายการทำงานได้ ถ้าคลิกปุ่มซ้ายอาจจะครั้งเดียวหรือสองครั้งเร็วๆ นั้นหมายถึงการสั่งให้ทำงานหรือรันโปรแกรม เป็นต้น
บริการเครือข่ายสังคม (อังกฤษ: social network service) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้างเครือข่ายสังคม สำหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไปด้วย การแช็ต ส่งข้อความ ส่งอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก การทำงานคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐานข้อมูล sql ส่วน video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริการเครือข่ายสังคมที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไฮไฟฟ์ มายสเปซ เฟซบุ๊ก ออร์กัต มัลติพลาย โดยเว็บเหล่านี้มีผู้ใช้มากมาย เช่น ไฮไฟฟ์เป็นเว็บไซต์ที่คนไทยใช้มากที่สุด ส่วนบริการเครือข่ายสังคม ที่ทำขึ้นมาสำหรับคนไทยโดยเฉพาะ คือ บางกอกสเปซ ในขณะที่ออร์กัตเป็นที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย

กลุ่ม 6 มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน” หรือ CAI คือ การนำคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือสร้างให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้เรียนนำไปเรียนด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้ ในโปรแกรมประกอบไปด้วย เนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ลักษณะของการนำเสนอ อาจมีทั้งตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการแสดงผลการเรียนให้ทราบทันทีด้วยข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียน และยังมีการจัดลำดับวิธีการสอนหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละคน ทั้งนี้จะต้องมีการวางแผนการในการผลิตอย่างเป็นระบบในการนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบที่แตกต่างกัน

องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
- ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ
- ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
- ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1. สอนเนื้อหารายละเอียด (Tutorials)
2. การฝึกทักษะ (Drill and Practice)
3. การจำลองสถานการณ์ (Simulations)
4. เกมการสอน (Instructional games)
5. การสาธิต (Demonstration) โปรแกรมการสาธิต มีจุดประสงค์ เพื่อสาธิตประกอบการสอน
6. การแก้ปัญหา (Problem - Solving)เป็นบทเรียนสำหรับใช้เรียนรู้และการคิดแก้ปัญหาการตัดสินใจ
7. การทดสอบ (Tests) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการทดสอบ มี บทบาทในการเป็นเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนักเรียนทั้งก่อนเริ่มเรียน ระหว่างเรียนและหลังการเรียน
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)ระบบผู้เชี่ยวชาญ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความ สามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1. ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อน สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะ และเพิ่มเติมความรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
2. ผู้เรียนสามารถนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ที่สะดวก
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น สนุกสนานไปกับการเรียน

ข้อดีของระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน
1.ทำให้ผู้เรียนเรียนได้ในอัตราความเร็วของตนเอง เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นสื่อการเรียนการสอนของการเรียนเป็นรายบุคคลที่ดีสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตามความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเรียนตามอัตราความเร็วของแต่ละคน โดยที่ผู้เรียนไม่ต้องรอหรือเร่งการตอบสนอง( respond ) และไม่ต้องรอข้อมูลย้อนกลับ (feed back) จากครู เพราะคอมพิวเตอร์สามารถให้ข้อมูลกลับแก่ผู้เรียนทุกคนในเวลาเดียวกันโดยใช้ระบบการเจียดเวลา (Time Sharing)
2.ผู้เรียนจะเรียนที่ไหนเมื่อใดก็ได้ ด้วยความก้าวหน้าของระบบการสื่อสารทำให้ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อถ่ายทอดความรู้กับผู้อื่น หรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากโปรแกรมที่กำหนดไว้ได้ทุกเวลาที่ต้องการจะเรียนในทุก ๆ แห่ง
3.ผู้เรียนสามารถเรียนได้จากสื่อประสม (Multi media) จากระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากระบบไมโครคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนในปัจจุบันได้รับการพัฒนาจนสามารถที่จะแสดงภาพลายเส้นที่เคลื่อนไหวและการเสนอบทเรียนเป็นภาษาไทย การต่อวงจรระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมสื่ออื่นให้เสนอบทเรียนในเวลาที่เหมาะสมกับการตอบสนองของผู้เรียน จะทำให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนดีขึ้นมาก
4.ผู้เรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมรวดเร็วกว่าสื่ออื่น ๆ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่น คือการเก็บข้อมูลซ่อนคำตอบของกิจกรรมไว้ในหน่วยความจำหรือแผ่นดิสก์ได้ครั้งละมาก ๆ เมื่อผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแต่ละกิจกรรมแล้วระบบคอมพิวเตอร์สามารถบอกคำตอบหรือผลเฉลี่ยของกิจกรรมที่ถูกต้องได้ทันที

ข้อจำกัดของระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน
1.ขาดบทเรียนสำเร็จรูปที่ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ถึงแม้ว่าจะมีการพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศเกี่ยวกับการสอนวิชาต่าง ๆ แต่วิชาเหล่านี้ไม่ได้จัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตรของประเทศไทย ทำให้ไม่สามารถนำมาใช้ได้โดยตรงจำเป็นต้องมีการนำมาพัฒนาหรือปรับปรุงให้เหมาะสมกับหลักสูตรของประเทศไทย และเป็นภาษาไทยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจบทเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระบบการเรียนการสอน แต่ละท้องถิ่นของประเทศไทย ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ผู้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์อย่างดีขาดความรู้ด้านการจัดระบบการศึกษา และฝึกอบรมบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่น ๆ และผู้ที่มีความรู้ในด้านการจัดระบบการศึกษา

ข้อพึงระวังของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนจะต้องมีความพร้อม ความชำนาญในการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
* ผู้สอนควรมีการวางแผน และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนให้รอบคอบ ก่อนนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้อย่างเหมาะสม
* การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญมาก หากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม จะทำให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่ายและไม่ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น ๆ
* ผู้ที่สนใจสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรที่คำนึงเวลาในการผลิตว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้มาตรฐานนั้นต้องใช้เวลาเท่าไร
ดังนั้น หากนำ CAI ที่ได้รับการคัดเลือกตามคุณสมบัติที่ดีของสื่อนั้น มาประกอบกับการจัดเตรียมห้องเรียน หรือศูนย์ค้นคว้าที่ถูกออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่มอยู่ก็สามารถก่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในอันที่จะพัฒนาตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ให้บรรลุได้ในเวลาอันรวดเร็วยิ่งขึ้นไป

กลุ่ม 5 มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง:หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง:หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือที่รู้จักกันในชื่ออีบุ๊ค (eBook หรือ e-Book) เป็นคำภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอ คอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สำคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่ว

ลักษณะของอีบุ๊ค หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
อีบุ๊คจะเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์ประเภท หนึ่ง ในยุคแรกๆ จะเป็นไฟล์แบบ PDF โดยเนื้อหาในไฟล์จะมีลักษณะเหมือนหนังสือจริงๆ ซึ่งจะใช้ในกระบวนการทำเพลท ยิงฟิล์ม ด้วยความที่มีลักษณะเหมือนหนังสือจริงๆ แต่เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์ ต้องเปิดอ่านจากหน้าจอ คอมพิวเตอร์ จึงเป็นที่มาของ eBook? อีบุ๊คในปัจจุบันมีหลายแบบ ตามแต่จุดประสงค์ในการใช้งาน เมื่ออีบุ๊คเป็นไฟล์เอกสารประเภทหนึ่ง จึงสะดวกในการพกพา จำหน่าย จ่ายแจก สามารถรับส่ง ดาวน์โหลดผ่านอินเตอร์เน็ตได้ ก็อปปี้ไปใช้งานระหว่างเครื่องได้

โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction)
ลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือ ทั่วไปที่พิมพ์ด้วยกระดาษ หากจะมีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือสรุปโครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
• หน้าปก (Front Cover)
• คำนำ (Introduction)
• สารบัญ (Contents)
• สาระของหนังสือแต่ละหน้า (Pages Contents)
• อ้างอิง (Reference)
• ดัชนี (Index)
• ปกหลัง (Back Cover)

ข้อดีและข้อจำกัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( e-Book)
ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีดังต่อไปนี้
1.เป็นสื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆ มารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือ สามารถแสดงภาพ แสง เสียงภาพเคลื่อนไหวและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้
2 .ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น
3.ครูสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,การเขียน,การฟังและการพูดได้
4.มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่ายและเชื่อมโยงไปสู่โฮมเพจและ เว็บไซต์ต่างๆอีกทั้งยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้
5. หากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตจะทำให้การกระจายสื่อทำได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขว้างกว่าสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์(“หนังสือพิมพ์ออนไลน์นวัตกรรม แห่งสื่ออนาคต
6. สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์
7. มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา อักทั้งยังสามารถเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้โดยใช้ความสามารถของ ไฮเปอร์เท็กซ์
8. ในการสอนหรืออบรมนอกสถานที่ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะช่วยให้เกิดความคล่องตัวยิ่งขึ้นเนื่องจาก สื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจำนวนมมาก
9. การพิมพ์ทำได้รวดเร็วกว่าแบบใช้กระดาษ สามารถทำสำเนาได้เท่าที่ต้องการ ประหยัดวัสดุในการสร้างสื่ออีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
10. มีความทนทาน และสะดวกต่อการเก็บบำรุงรักษา ลดปัญหาการจัดเก็บเอกสารย้อนหลังซึ่งต้องใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างกว่าใน การจัดเก็บ สามารถรักษาหนังสือหายากและต้นฉบับเขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
11. ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว

ข้อจำกัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีดังต่อไปนี้
1.คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า(“หนังสือ พิมพ์ออนไลน์นวัตกรรมสื่อแห่งอนาคน “,2541: 60) อีกทั้งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สมารถใช้งานได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อ สิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก
2.หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆจะทำให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า
3.การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดี ผู้สร้างต้องมีความรู้ และความชำนาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้าง สื่อดีพอสมควร
4.ผู้ใช้สื่ออาจจะไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทำได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.ใช้เวลาในการออกแบบมาก เพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดีเพื่อให้ได้สื่อที่มีคุณภาพ

หนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆได้ สำหรับหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์นี้จะมีความหมายรวมถึงเนื้อหาที่ถูกดัดแปลงอยู่ในรูปแบบที่สามารถแสดงผลออกมาได้โดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ แต่ก็ให้มีลักษณะการนำเสนอที่สอดคล้องและคล้ายคลึงกับการอ่านหนังสือทั่วๆไปในชีวิตประจำวันแต่จะมีลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและผู้อ่านสามารถอ่านพร้อมๆ กันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายส่งคืนห้องสมุดเช่นเดียวกับหนังสือในห้องสมุดทั่วๆ ไป
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือที่รู้จักกันในชื่ออีบุ๊ค (eBook หรือ e-Book) เป็นคำภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หมายถึง รูปแบบของการจัดเก็บและนำเสนอข้อมูลหลากหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นข้อความ ตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียงต่าง ๆข้อมูลเหล่านี้มีวิธีเก็บในลักษณะพิเศษนั่นคือ จากแฟ้มข้อมูลหนึ่งผู้อ่านสามารถเรียกดูข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ทันที โดยที่ข้อมูลนั้นอาจจะอยู่ในแฟ้มเดียวกันหรืออาจจะอยู่ในแฟ้มอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลก็ได้ หากข้อมูลที่กล่าวมานี้เป็นข้อความที่เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกว่า ข้อความหลายมิติ (hypertext) และหากข้อมูลนั้นรวมถึงเสียงและภาพเคลื่อนไหวด้วยก็เรียกว่า สื่อประสมหรือสื่อหลายมิติ

กลุ่ม 4 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ

สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ

สื่อมัลติมีเดีย คือ การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสาน สื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น และถ้าผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) การปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้สามารถจะกระทำได้โดยผ่านทางคีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตัวชี้ (Pointer) เป็นต้น การใช้สื่อมัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียน รู้หรือทำกิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่างๆ ด้วยตนเองได้สื่อต่างๆ ที่นำมารวมไว้ในสื่อมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทัศน์ จะช่วยให้เกิดความหลากหลายในการใช้คอมพิวเตอร์อันเป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในแนวทางใหม่ที่ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย
1 ขั้นการเตรียม (Preparation)
2 ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน
เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นหนึ่งในการกำหนดว่าบทเรียนจะออกมามีลักษณะใด
3 ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson) เป็นการนำเสนอลำดับขั้นโครงสร้างของ
คอมพิเตอร์ช่วยสอน
4 ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (Create Storyboard) เป็นขั้นตอนการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ
6 ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials)
7 ขั้นตอนการประเมินผลและแก้ไขบทเรียน (Evaluate and Revise) บทเรียนและเอกสารประกอบทั้งหมดควรที่จะได้รับการประเมิน โดยเฉพาะการประเมินการทำงานของบทเรียน

สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ การใช้คอมพิวเตอร์สื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟ ภาพศิลป์ เสียง ภาพเคลื่อนไหวและวิดีทัศน์ เป็นต้น ถ้าผู้ใช้สามารถควบคุมสื่อเหล่านี้ให้แสดงออกมาตามต้องการได้ ระบบนี้จะเรียกว่า มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์(Interactive Multimedia)”การนำเสนอ หรือเรียกตามศัพท์ภาษาอังกฤษว่า การพรีเซ้นท์ (Presentation) เป็นการบรรยาย หรือนำเสนอข้อมูลให้แก่ผู้ฟังโดยอาจมีอุปกรณ์ประกอบการบรรยายหรือไม่ก็ได้ อดีตการเตรียมงานนำเสนอแต่สักชิ้นต้องเตรียมตัวกันมากพอสมควร ตัวอย่างง่ายๆ ได้แก่ การบรรยายหน้าชั้นเรียนของอาจารย์ผู้สอน การเตรียมอุปกรณ์สำหรับการนำเสนอค่อนข้างยุ่งยาก เริ่มจากการเตรียมเนื้อหา นำภาพมาประกอบ นำข้อมูลที่มีเขียนลงบนแผ่นสไลด์ (หรือเขียนบนแผ่นใส) และบางครั้งอาจมีการอัดเสียงประกอบการบรรยายร่วมด้วย สิ่งที่เป็นปัญหาและเกิดขึ้นบ่อยมากคือ การแก้ไข หากต้องการแก้ข้อความ เปลี่ยนรูป เราต้องหาน้ำยาลบข้อความ หรือบางครั้งสีปากกาไม่ตรงกับสีที่มีอยู่ในสไลด์เดิม หรือหากมีการเปลี่ยนลำดับการนำเสนอ ก็ต้องไปตามแก้เสียงประกอบที่อัดไว้ และยังมีปัญหาอื่นๆเมื่อมาสู่

กลุ่ม 3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory)
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory) หรือทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล ทฤษฎีนี้ให้ความสนใจกับธรรมชาติของผู้เรียนซึ่งเป็นผู้ที่ active (มีความตื่นตัวในการเรียน) หรือกล่าวได้ว่า การแสดงพฤติกรรมหรือการเรียนรู้จะเกิดจากความต้องการของผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้นั้นเป็นผลเนื่องมาจากปฏิสัมพันธ์สิ่งเร้าที่มาจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ข้อมูลหรือความรู้ที่ต้องการเรียน กับตัวผู้เรียน
ทฤษฎีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมีความคล้ายคลึงกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ คลอสเมียร์ (Klausmeier,1985:108) ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง ซึ่งมีการทำงานเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ
1.การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
2.การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
3.การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์

กระบวนการสมองในการประมวลสาร จะได้รับการบริหารควบคุมอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งหากเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์แล้ว ก็คือ โปรแกรมสั่งงาน หรือ “Software” การบริหารควบคุมการประมวลสารของสมองก็คือการที่บุคคลรู้ถึงการคิดของตนและสามารถควบคุมการคิดของตนให้เป็นไปในทางที่ตนต้องการ การรู้ในลักษณะนี้ใช้ศัพท์ทางวิชาการว่า “Metacognition” หรือ “การรู้คิด” ซึ่งหมายถึงการตระหนักรู้ (Awareness) เกี่ยวกับความรู้และความสามารถของตนเอง และใช้ความเข้าใจในการรู้ดังกล่าวในการจัดการควบคุมกระบวนการคิด การทำงานของตนด้วยกลวิธี (Strategies) ต่าง ๆ อันจะช่วยให้การเรียนรู้และงานที่ทำประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ องค์ประกอบสำคัญของการรู้คิดที่ใช้ในการบริหารควบคุมกระบวนการประมวลสารสนเทศ ประกอบด้วยแรงจูงใจ ความตั้งใจ และความมุ่งหวังต่าง ๆ รวมทั้งเทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ บุคคลใช้ในการบริหารควบคุมตนเอง

กลุ่ม 2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory)
ปัญญานิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกว่ากลุ่มพุทธินิยม เป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความ เข้าใจให้แก่ตนเอง ซึ้งทฤษฎีปัญญานิยมนี้ เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ชอมสกี้เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการสอนก็ควรที่จะคํานึงถึงความแตกต่างภายในของ มนุษย์ด้วย

ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญของกลุ่มปัญญานิยม มีดังต่อไปนี้
1.ทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ ( Gestalt Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญของทฤษฎีนี้ คือ แมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์ (Max Wertheimer)วุล์ฟแกงค์ โคห์เลอร์(Wolfgang Kohler)เคิร์ท คอฟฟ์กา (Kurt Koffka)
2.ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
3.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญคือ เพียเจต์ (Piaget) และ บรุเนอร์ (Bruner)
4.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful VerbalLearnning)ของ ออซูเบล (Ausubel)
5.ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญคือ เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) ซึ่งเคยอยู่ในกลุ่มทฤษฎีของเกสตัลท์ และได้แยกตัวออกมาในภายหลัง
6.ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory)
7.ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Schema Theory) มีนักจิตวิทยาที่สำคัญ คือ รูเมลฮาร์ทและออโทนี่ (Rumelhart and Ortony)

การนำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยมประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอน
สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตามความเชื่อของนักจิตวิทยาตามทฤษฎีกลุ่มนี้ มีความเชื่อว่า มนุษย์มีความแตกต่างกัน ทั้งในด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ความสนใจและความถนัดในแต่ละคน ดังนั้นในการเรียนรู้ก็ต้องมีกระบวนการและขั้นตอนที่แตกต่างกัน ครูผู้สอนไม่จำเป็นต้องเสนอเนื้อหาทั้งหมดสามารถเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ์ ควรเสนอบางส่วน ผู้เรียนสามารถใช้ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์ การเสนอเนื้อหาของครูผู้สอน ควรมีความต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็ว การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากขึ้น การเสนอความคิดรวบยอดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นจะช่วยให้ผู้เรียนรู้ได้เรียนเนื้อหาสาระนั้นอย่างมีความหมายการนำทฤษฎีปัญญานิยมมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้แก่ การใช้เทคนิคการสร้างความสนใจแก่ผู้เรียนก่อนเริ่มเรียน คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนในแง่ของการเลือกเนื้อหาการเรียน กิจกรรมการเรียน การควบคุมด้วยตนเองก่อน หลัง

กลุ่ม 1 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism)

การเรียนรู้เป็นกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของมนุษย์ในด้าน ต่าง ๆ อาทิ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านเจตคติ เป็นต้น ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ได้รับความสนใจจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแต่ในอดีต ซึ่งต่างก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่หลากหลาย และได้พัฒนาไปเป็นรากฐานในการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism)
นักคิด นักจิตวิทยาในกลุ่มพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่ดีไม่เลว (neutral-passive) การกระทำต่าง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus-response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสำคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สังเกตเห็นได้ สามารถวัดและทดสอบได้
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญ 3 แนวคิด (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 50) ดังต่อไปนี้

1.ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
ธอร์นไดค์ใช้แมวในการทดลอง สรุปได้ว่า แมวเรียนรู้วิธีการเปิดประตูโดยการกดคานได้ด้วยตนเองจากการเดาสุ่ม หรือแบบลองถูกลองผิด จนได้วิธีที่ถูกต้องที่สุด และพบว่ายิ่งใช้จำนวนครั้งการทดลองมากขึ้นเท่าใด ระยะเวลาที่ใช้ในการแก้ปัญหาคือเปิดประตูกรงออกมาได้ยิ่งน้อยลงเท่านั้น และจากผลการทดลองดังกล่าว สามารถสรุปเป็นกฎการเรียนรู้ (ทิศนา แขมมณี. 2548 : 51ได้ดังนี้
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ คือ
1.กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2.กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทำบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจลืมได้
3.กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ความมั่งคงของการเรียนรู้จะเกิดขึ้น หากได้มีการนำไปใช้บ่อย ๆ หากไม่มีการนำไปใช้อาจมีการลืมเกิดขึ้นได้
4.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้

การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจำผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2.การสำรวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องดำเนินการก่อนการเรียนเสมอ
3.หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
4.เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนำการเรียนรู้นั้นไปใช้
5.การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จ

2.ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory) ผู้ริเริ่มตั้งทฤษฎีนี้เป็นคนแรก คือ พาฟลอฟ (Pavlov) ต่อมาภายหลังวัตสัน (Watson)
พาฟลอฟเชื่อว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) คือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น เช่น สุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งแล้วน้ำลายไหล เป็นต้น โดยเสียงกระดิ่งคือสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข ซึ่งเรียกว่า “สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned stimulus) และปฏิบัติกิริยาการเกิดน้ำลายไหลของสุนัข เรียกว่า “การตอบสนองที่ถูกวางเงื่อนไข (Conditioned response) ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข
วัตสัน ได้ทำการทดลองโดยให้เด็กคนหนึ่งเล่นกับหนูขาว และขณะที่เด็กกำลังจะจับหนูขาว ก็ทำเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้ หลังจากนั้นเด็กจะกลัวและร้องไห้เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาทดลองให้นำหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้ จากนั้นเด็กก็จะค่อย ๆ หายกลัวหนูขาว
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของกัทธรี(Guthrie’s Contiguous Conditioning theory)
กัทธรี กล่าวว่า “สิ่งเร้า ที่ทำให้เกิดอาการเคลื่อนไหวเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขที่แท้จริง” กัทธรีและฮอร์ตัน (Horton) ได้ร่วมกันทดลองการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง โดยใช้แมวและสร้างกล่องปัญหาขึ้น ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ มีกล้องถ่ายภาพยนตร์ติดไว้ที่กล่องปัญหาด้วย นอกจากนี้ยังมีเสาเล็ก ๆ อยู่กลางกล่อง และมีกระจกที่ประตูทางออก

3.ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)กฎการเรียนรู้
1.กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive Inhibition) หรือการยับยั้งปฏิกิริยา คือ ถ้าร่างกายเกิดความเหนื่อยล้า การตอบสนองหรือการเรียนรู้จะลดลง
2.กฎแห่งการลำดับกลุ่มนิสัย (Law of Habit Hierarchy) เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น แต่ละคนจะมีการตอบสนองต่างๆ กัน ในระยะแรกการแสดงออกมีลักษณะง่าย ๆ ต่อเมื่อเรียนรู้มากขึ้นก็สามาถเลือกแสดงการตอบสนองในระดับที่สูงขึ้น หรือถูกต้องตามมาตรฐานของสังคม
3.กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย (Goal Gradient Hypothesis) เมื่อผู้เรียนยิ่งใกล้บรรลุเป้าหมายเท่าใดจะมีสมรรถภาพในการตอบสนองมากขึ้นเท่านั้น การเสริมแรงที่ให้ในเวลาใกล้เคียงเป้าหมายจะช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด
สรุปแล้ว ทฤษฎีการเรียนรู้ จึงหมายถึง แนวความคิด หลักการรวมทั้งกระบวนการเรียนรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า และทดลองจนเป็นที่ยอมรับว่า สามารถอธิบายถึงลักษณะของการเกิดการเรียนรู้ หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กลุ่ม 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านการบริหาร

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านการบริหาร
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านการบริหาร เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้บริหารในงานระดับวางแผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การโดยที่ EIS จะถูกนำมาให้คำแนะนำผู้บริหารในการตัดสินใจและเป็นการตอบสนองความต้องการที่พิเศษของผู้บริหารในด้านต่าง ๆ สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ปกติ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา (MIS)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในมาตรา 63-69 ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับการจัดการด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยกำหนดขอบเขตครอบคลุมไปถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาบุคลากร การวิจัย การจัดตั้งกองทุนและหน่วยงานกลางเพื่อวางนโยบายและบริหารงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา

ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้ ICT เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ส่งเสริม ให้ผู้เรียนใช้ประโยชน์จาก ICT เพื่อการเรียนรู้จากแหล่งและวิธีการที่หลากหลาย มีการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาผู้สอนและพัฒนาหลักสูตรในการประยุกต์ใช้ ICT เพื่อการจัดการเรียนการสอน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การใช้ ICT พัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา
เป็นการส่งเสริมการใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และให้บริการทางการศึกษา ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน ICT
เป็นการรองรับความต้องการกำลังคนด้าน ICT เพื่อการพัฒนาการศึกษาและอุตสาหกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการศึกษา
มุ่งเน้นการจัดหาและใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ โดยร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน ชุมชน และท้องถิ่น เตรียมบุคลากรปฏิบัติงานด้าน ICT ให้เพียงพอ เพื่อให้มี ประสิทธิภาพในการใช้ปฏิบัติงาน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านการบริหาร จะบรรลุได้ต้องประกอบด้วย
1.การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ (Information Utilization)เพื่อประกอบการตัดสินใจให้มากขึ้น ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ประการ
- ข้อมูลนำเข้า (Input)
- กระบวนการประมวลผล (Process)
- ผลลัพธ์ (Input)
- การควบคุมการย้อนกลับ (Feedback Control)
2. การบริหารทางไกล (High-Tech Administration)
3. การหาความรู้ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
4. การมองการณ์ไกล (Introspection)
5. การใช้หน่วยงาน/องค์กรอื่นทำงาน (Decentralization)
6. การจัดรูปองค์กรที่ทำงานได้ฉับไว (Organization Development)
7. การพัฒนาบุคลากร (Personnel Development

ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
1.ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์
2.ช่วยผู้ใช้ในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ
3.ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน
4.ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อหาวิธีควบคุม ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา
5.ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
6.ช่วยลดค่าใช้จ่าย

กลุ่ม 5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านวิชาการ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านวิชาการ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน ต้องมีความรู้และการทำความเข้าใจถึงศักยภาพของคอมพิวเตอร์ในการสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดกลวิธีที่จะบูรณาการในการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับสภาพที่เป็นอยู่ การนำไปใช้ในการเรียนการสอน และจะจัดการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพในบริบทของความพร้อมที่แตกต่างกัน ที่สำคัญที่สุดคือการทำความเข้าใจถึงบทบาทที่เปลี่ยนไปของครู และการเตรียมตัวของครูต่อการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน

เทคโนโลยีกับการเรียนการสอนมี 3 ลักษณะ คือ
1.การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology)
2.การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology)
3.การเรียนรู้กับเทคโนโลยี (Learning with Technology)

แนวคิดในการเพิ่มคุณค่าของเทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้
1.การใช้เทคโนโลยีพัฒนากระบวนการทางปัญญากระบวนการทางปัญญา (Intellectual Skills)
มีองค์ประกอบสำคัญ คือ
1.การรับรู้สิ่งเร้า (Stimulus)
2.การจำแนกสิ่งเร้าจัดกลุ่มเป็นความคิดรวบยอด (Concept)
3.การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดเป็นกฎเกณฑ์ หลักการ (Rule) ด้วยวิธีอุปนัย (Inductive)
4.การนำกฎเกณฑ์ หลักการไปประยุกต์ใช้ด้วยวิธีนิรนัย (Deductive)
5.การสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ ๆ (Generalization)

2.การใช้เทคโนโลยีพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถออกแบบแผนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสทำโครงงานแสวงหาความรู้ตามหลักสูตร หาความรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ เพื่อแก้ปัญหา

แนวคิดของบิลล์ เกตส์ (Bill Gate) เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา
1.การเรียนไม่ได้มีเฉพาะในห้องเรียน สามารถที่จะเรียนได้จากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway)
2.ผู้เรียนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
3.การเรียนที่ตอบสนองความต้องการรายคน
4.การเรียนโดยใช้สื่อประสม
5.บทบาทของทางด่วนข้อมูล กับการสอนของครู ด้วยระบบเครือข่ายทางด่วนข้อมูล
6.บทบาทของครูจะเปลี่ยนไป ครูจะมีหลายบทบาท
7.ความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียน ครู และผู้ปกครองจะใช้ระบบทางด่วนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์

การจัดปัจจัยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้
1.ครูสร้างโอกาสในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
2.ครู และผู้เรียนจัดทำระบบแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
3.สถานศึกษาจัดศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
4.การบริการของกรมหรือหน่วยงานกลางทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้


กลวิธีการบูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน แบ่งได้เป็น 10 วิธี ดังนี้
1.ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
2.ใช้ในการสนทนากับผู้เชี่ยวชาญ
3.ใช้เว็บเป็นติวเตอร์หรือผู้สอนเป็นวิธีใช้เว็บนำเสนอบทเรียนออนไลน์วิชาต่างๆ
4.เผยแพร่ผลงานนักเรียน
5.อภิปราย / กระจายความคิด อีเมล์และเว็บใช้เป็นแหล่งความคิดและสารสนเทศ
6.ร่วมมือในการทำโครงงานด้วยกัน
7.ใช้ทรัพยากรมัลติมีเดียจากอินเทอร์เน็ต
8.การทำงานขึ้นอยู่กับพนักงานที่มีความชำนาญทางเทคนิค
9.ใช้เทคโนโลยีอย่างมีจุดมุ่งหมายในการปฏิรูปการเรียนรู้
10.ผสมผสานการเรียนรู้ด้วยโครงงานหรือการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาโดยใช้มัลติมีเดียในการเรียนรู้ด้วยโครงงาน

กลุ่ม 3 ความหมาย แนวคิด ทฤษฎี ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

ความหมาย แนวคิด ทฤษฎี ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม หมาย ถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงกา ทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมาย ถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน

ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี หมายถึง การใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ เรียกว่านักเทคโนโลยี
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุม องค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1.วัสดุ
2.อุปกรณ์
3.วิธีการ

แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
1.ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different)
2.ความพร้อม (Readiness)
3.การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
4.ประสิทธิภาพในการเรียน
นวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบันตอนนี้คือ E-learning ความหมายของ E-Learning หรือ Electronic Learning หมายถึง “การ เรียนผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ เป็นต้น

กลุ่ม 2 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2550 – 2554

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2550 – 2554
วิสัยทัศน์
ผู้เรียน ผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา และประชาชน ใช้ประโยชน์จาก ICT ในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ได้เต็มศักยภาพ อย่างมีจริยธรรม มีสมรรถนะทาง ICT ตามมาตรฐาน สากล

พันธกิจ
1.การใช้ ICT พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพ การเรียนรู้
2.การใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางการศึกษา
3.การผลิตและพัฒนาคุณภาพผู้จบการศึกษาด้าน ICT เพื่อการพัฒนาประเทศ

เป้าประสงค์
1.การเรียนรู้ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เป็นการเรียนรู้โดยใช้ ICT เป็นฐาน (ICT - based Learning) ที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
2.การบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา ของหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษา เป็นการบริหารจัดการที่ใช้ ICT เป็นฐานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3.ผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้าน ICTที่มีคุณภาพ เพียงพอ สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ และในทุกพื้นที่ใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างโอกาส เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e - Learning) ประกอบด้วย
กลยุทธ์ที่ 1.1 สร้างความร่วมมือและส่งเสริมการพัฒนาและการใช้สื่ออีเล็กทรอนิกส์(e-Contents)เพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย
กลยุทธ์ที่ 1.2 เร่งรัดการใช้โครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการเรียนรู้ตามความต้องการและความจำเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการ ให้บริการทางการศึกษา (e- Management)
กลยุทธ์ที่ 2.1 เร่งรัดการใช้โครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT เพื่อการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา (e – Management Infrastructure)
กลยุทธ์ที่ 2.2 มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารงานภาครัฐ (Back office)สู่การเป็นสำนักงานอัตโนมัติ (e-Office)
กลยุทธ์ที่ 2.3 ให้บริการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)

ยุธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน ICT (e - Manpower)
กลยุทธ์ที่ 3.1 ผลิตและพัฒนาบุคลากร ICT ระดับมืออาชีพ (e - Professional )
กลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานทรัพยากรบุคคล เพื่อสังคม ICT และสังคมแห่งการเรียนรู้
(e-Society & Learning Society)

กลุ่ม 1 ICT Master Plan แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งประเทศไทย ฉบับที่ 2

แผนแม่บท ICT แห่งชาติฉบับที่ 2
สรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพด้าน ICT ของประเทศไทย
การวิเคราะห์สถานภาพทางด้าน ICT ของประเทศไทย ซึ่งได้จากการวัดจากดัชนีมาตรฐานต่าง ๆ และการทำ SWOT เป็นต้น ซึ่งสรุปออกมาได้ 5 ประเด็นดังต่อไปนี้
สถานภาพด้านโครงสร้างพื้นฐาน - ผลการวิเคราะห์พบว่า ประเทศไทยไม่มีปัญหาด้านการพัฒนาโครงข่ายหลัก (Backbone Network) แต่ปัญหาอยู่ที่โครงข่ายระดับปลายทาง (Last Mile Access) ที่ไม่เพียงพอ ไม่ครอบคลุม และด้อยคุณภาพ ซึ่งเป็นผลให้พื้นที่ห่างไกลและกลุ่มคนบางกลุ่มเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น ยังไม่สามารถเข้าใช้งานได้ดีนัก ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบการเข้าถึงเทคโนโลยีการสื่อสารดั้งเดิมเช่น โทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น (แผนแม่บทใช้คำว่า ปัญหาความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศ)
สถานภาพของประชาชนทั่วไป - ผลการวิเคราะห์พบว่า คนไทยมีการใช้ ICT ในระดับต่ำ ส่วนผู้ที่เข้าถึง ICT แล้วนั้นก็ยังไม่ใช้ ICT ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง กล่าวคือใช้เพื่อความบันเทิงเป็นหลัก อีกทั้งมีการใช้งาน ICT ที่ไม่เหมาะสมอยู่มาก ซึ่งดูได้จากปริมาณของเนื้อหาที่ไม่พึงประสงค์ และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ที่มีเป็นจำนวนมาก
สถานภาพด้านบุคลากรทาง ICT - ยังขาดบุคลากรทางด้าน ICT อีกมาก ทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ
สถานภาพด้านบุคลากรในภาครัฐ - ก็ยังขาดบุคลากรทางด้าน ICT ทั้งคุณภาพและปริมาณเช่นกัน โดยเน้นด้วยว่าเกิดจากผลตอบแทนต่ำและขาดแรงจูงใจที่เหมาะสม
สถานภาพด้านการบริการจัดการ - ประเทศไทยมีหน่วยงานทางด้าน ICT เป็นจำนวนมากพอสมควร แต่มีการทำงานที่ซ้ำซ้อน ต่างคนต่างทำ ไม่เป็นเอกภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านการวางแผน การกำกับดูแล การจัดการงบประมาณ เป็นต้น เป็นผลให้งานต่าง ๆ ขาดการบูรณาการ ขาดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และขาดการประเมินผลและติดตามผลอย่างจริงจัง
วิสัยทัศน์
ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้วย ICT
วิสัยทัศน์ คือ จินตนาการของสิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่เราทำตามแผนแม่บทนี้ คำสำคัญอยู่ที่วลีที่ว่า ด้วย ICT วลีนี้สะท้อนให้เห็นความต้องการที่จะให้ ICT เข้าไปแทรกอยู่ในทุกภาคส่วนของสังคมทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง ดังนั้นสิ่งที่แผนนี้อยากให้เกิดขึ้นคือ สังคมของเราจะเป็นสังคมที่แข็งแกร่ง อุดมปัญญาและอุดมไปด้วยการใช้งาน ICT อย่างมีวิจารณญาณ รู้เท่าทัน ชาญฉลาด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด
พันธกิจ
พัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอ ทั้งบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professionals) และบุคลากรในสาขาอาชีพอื่น ๆ ทุกระดับ ที่มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อร่วมขับเคลื่อนประเทศไทยสู่สังคมและเศรษฐกิจฐานความรู้และนวัตกรรมอย่างยั่งยืนและมั่นคงพัฒนาโครงข่ายสารสนเทศและการสื่อสารความเร็วสูงที่มีการกระจายอย่างทั่วถึง มีบริการที่มีคุณภาพ และราคาเป็นธรรม เพื่อให้เป็นโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศหลักที่ทุกภาคส่วนสามารถใช้ในการเข้าถึงความรู้ สร้างภูมิปัญญา และภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมสามารถใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ภาคเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีมมีธรรมาภิบาล โดยมีกลไก กฎระเบียบ โครงสร้างการบริหารและกำกับดูแล ที่เอื้อต่อการพัฒนาอย่างบูรณาการ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อสนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการประเทศ สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พันธกิจคือภารกิจหลักที่ต้องทำ เป็นหัวข้อกว้าง ๆ เพื่อกำหนดกรอบเป็นหลักในการพัฒนา โดยสรุปแล้วแผนแม่บทฉบับนี้ก็จะมุ่งเน้นการพัฒนาสามด้านหลักได้แก่ คน โครงข่าย และการจัดการ
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนากำลังคนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) ให้มีปริมาณและคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด และบุคลากรในสาขาอาชีพต่าง ๆ ทุกระดับ รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์ พัฒนา และใช้ ICT อย่างมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน เพื่อเป็นรากฐานการพัฒนาประเทศไทยสู่สังคมและเศรษฐกิจฐานความรู้และนวัตกรรมอย่างยั่งยืนและมั่นคงเพื่อสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช้แนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นความมีเอกภาพ การบูรณาการ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีการจัดสรรผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ประชาชนในทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม โดยใช้กลไกความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private Partnership) อย่างเหมาะสมเพื่อสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่า (Value Creation) ของสินค้าและบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและปัจเจกบุคคล โดยการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ ในกิจการของครัวเรือนและชุมชน รวมถึงในการแสวงหาความรู้ สร้างภูมิปัญญาการมีส่วนร่วมในระบบการเมืองการปกครอง และในการดำรงชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่การพึ่งตนเองและลดปัญหาความยากจน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และผู้สูงอายุ
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเน้นการเพิ่มมูลค่าเพิ่ม (Value-Added) ในประเทศ การวิจัยและพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณ์ของคนไทย เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสู่สังคมและเศรษฐกิจฐานความรู้และนวัตกรรมอย่างยั่งยืน
โดยสรุปก็คือเน้นไปที่การพัฒนาความเข็งแกร่งทางด้าน ICT ให้กับ คน สังคม และธุรกิจ
เป้าหมาย
ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ มีความรอบรู้ สามารถเข้าถึง สร้างสรรค์ และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ รู้เท่าทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม (Information Literacy) ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ การทำงาน และการดำเนินชีวิตประจำวัน
ยกระดับความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ โดยให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนาสูงสุด 25% (Top Quartile) ของประเทศที่มีการจัดลำดับทั้งหมดใน Networked Readiness Index
เพิ่มบทบาทและความสำคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15
เป้าหมายก็คือ สิ่งที่เป็นตัววัดว่าต้องทำเท่าใดจึงจะเรียกว่าประสบความสำเร็จ สรุปจากดัชนีทั้งสามก็คือ จำนวนผู้ใช้งานที่มีคุณภาพ อันดับในดัชนีชี้วัด และสัดส่วนในอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ของประเทศ


สรุปแผนยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน
จากผลการวิเคราะห์สถานภาพของ ICT ในส่วนแรก และนำมาสู่การตั้งวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ซึ่งเป็นกรอบกว้าง ๆ ของแนวทางที่จะทำ ซึ่งต้องนำมาแตกออกเป็นยุทธศาสตร์ย่อยอีกเพื่อให้สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ แผนแม่บทฉบับนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์ทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
การพัฒนากำลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอย่างมีธรรมาภิบาล
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ
ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ
การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน
โดยแต่ละยุทธศาสตร์มีรายละเอียดโดยสรุปดังต่อไปนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนากำลังคนด้าน ICT และบุคคลทั่วไปให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
ยุทธศาสตร์แรกเป็นเรื่องของการพัฒนาคน โดยแบ่งเป็นสองส่วนหลักได้แก่
การพัฒนาบุคลากรทางด้าน ICT อันได้แก่ การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ที่อยู่ในภาคการศึกษาทั้งในระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา โดยเน้นไปที่การพัฒนาอาจารย์ การปรับปรุงการเรียนการสอน และส่งเสริมให้ทำงานใกล้ชิดกับผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น อีกทั้งยังส่งเสริมให้นำโอเพ่นซอร์สมาใช้ในการเรียนการสอนให้มากขึ้นด้วย นอกจากจะพัฒนาบุคลากรในภาคการศึกษาแล้ว ยังต้องพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมด้วย โดยเน้นพัฒนาให้ได้คุณภาพมาตรฐานในระดับสากล
การพัฒนาประชาชนทั่วไป ในส่วนนี้ได้แบ่งมาตรการเป็น 5 ข้อย่อย อันได้แก่
การนำ ICT มาใช้ในการเรียนการสอนในทุกระดับชั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ และการสร้างสังคมเรียนรู้ออนไลน์ของนักเรียน
สนับสนุนแหล่งเรียนรู้ทาง ICT ในชุมชนทั้วไป เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ ICT ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ส่งเสริมทักษะทาง ICT ให้แก่แรงงานในสถานประกอบการต่าง ๆ ให้สามารถใช้ ICT ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ทาง ICT แก่สังคมผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และผู้สูงอายุ
ผลักดันให้เกิดการพัฒนาความรู้และทักษะทางด้าน ICT แก่บุคลากรภาครัฐ
สถานศึกษาควรให้ความสำคัญและส่งเสริม สนับสนุน ด้าน ICT ให้กับบุคลากรในโรงเรียน เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาเรียนการสอน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอย่างมีธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 2 นี้เน้นที่กลไกการบริหารจัดการ ICT ของรัฐ อันได้แก่
การปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT ให้มีความเป็นเอกภาพและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ปรับปรุงกลไกการจัดการงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับ ICT ให้คุ้มค่าและลดความซ้ำซ้อน
พัฒนากฎระเบียบและการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT โดยเน้นที่การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยังรวมถึงการปรับปรุงจัดซื้อจัดจ้างที่เกี่ยวข้องกับ ICT ให้เน้นที่ความคุ้มค่าของงานมากกว่าราคาเพียงอย่างเดียว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ยุทธศาสตร์นี้มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาโครงสร้างทาง ICT ของประเทศในด้านต่าง ๆ อันได้แก่
การประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐในเรื่อง ICT
การขยายโครงข่ายโทรคมนาคมให้ครอบคลุมทั่วถึงมากขึ้น
สนับสนุนการเข้าถึง ICT เพื่อการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน ห้องสมุด และชุมชน เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สนับสนุนการใช้งาน ICT ทีเกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัยของประชาชน เช่น การสาธารณสุขพื้นฐาน และการเตือนภัย เป็นต้น
เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงข่าย อันได้แก่ การจัดสรรคลื่นความถี่ การจัดทำฐานข้อมูลของโครงข่ายในประเทศ และมีนโยบายคุ้มครองผู้บริโภคที่ได้มาตรฐานสากล
เสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของโครงข่าย ICT พื้นฐานและของหน่วยงานของรัฐ
ยุทธศาสตร์นี้ระบุทิศทางให้สถานศึกษาพัฒนาโครงข่าย เน้นไปที่การศึกษา ในการสร้างหรือขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ
เพิ่มศักยภาพของหน่วยงานกลางที่ดูแล ICT ของภาครัฐทุกหน่วยงาน
ให้ทุกกระทรวงพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองแบบบูรณาการ นั่นคือต้องสามารถทำงานเข้ากับระบบบริการของกระทรวงอื่นอย่างเป็นเอกภาพด้วย
เพิ่มศักยภาพการดำเนินงานด้าน ICT ของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดและการปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐบาลมีการสร้างเครือข่ายถึง สพฐ สพท และโรงเรียน เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเก็บข้อมูล เพิ่มศักยภาพในการให้บริการ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ
ยุทธศาสตร์นี้มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถและความแข้มแข็งของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ โดยมีมาตรการที่สำคัญดังต่อไปนี้
ส่งเสริมและสนับสนุนเงินทุนให้กับผู้ประกอบการ ICT รายใหม่
ยกระดับมาตรฐานและบริการ ICT ให้เทียบเท่าระดับสากล ต่อยอดการพัฒนาเดิม และส่งเสริมการผลิตเทคโนโลยีต้นน้ำ
ส่งเสริมการรวมตัวและเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับผู้ประกอบการ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาดให้กับผู้ประกอบการ ICT
ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT ทั้งภายในประเทศและจากต่างประเทศ
ส่งเสริมการผลิตและบริการซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์นี้ส่งเสริมภาคการผลิตต่าง ๆ ให้สามารถนำ ICT มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อเป็นช่องทางหนึ่งในการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน มาตรการต่าง ๆ ของยุทธศาสตร์นี้ได้แก่
สร้างความตระหนักและเพิ่มขีดความสามารถด้าน ICT ให้กับผู้ประกอบการ
เสริมสร้างกลไกและความเชื่อมันในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ส่งเสริมการนำ ICT มาใช้ให้เกิดประโยชน์ภาคการผลิตที่สำคัญของประเทศ เช่น การเกษตร การสาธารณสุข และการท่องเที่ยว เป็นต้น
ส่งเสริมให้ SME เข้าถึงและนำ ICT มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด และหาช่องทางทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้กับสินค้าชุมชน (OTOP)
ส่งเสริมการนำ ICT มาใช้ในประหยัดพลังงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายขององค์กรต่าง ๆ


http://www.blognone.com/news/19823